Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุม การติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุม การติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคน
ระบบทางเดินหายใจ
เชื้อออกมาพร้อมน้ํามูก
ลมหายใจ
เชื้อออกทางระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อไปสู่ผู้อื่น
การสัมผัส
การเเพร่โดยมีตัวนำ
การหายใจ
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
แหล่งเชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
แหล่งเชื้อโรคอาจเป็นคน สัตว์ พืช ดิน และแมลงต่าง ๆ
เชื้อเจริญเติบโตได้ดีในแหล่งเชื้อโรคเฉพาะ
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
เชื้อโรคออกจากแหล่งเชื้อโรคแล้วจะทําให้เกิดโรค
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังฉีกขาด
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
ความสามารถของเชื้อในการเพิ่มจํานวนและเจริญเติบโต (Virulence)
ความสามารถในการก่อโรค (Pathogenicity)
ความสามารถในการ รุกรานเข้าสู่เนื้อเยื่อของร่างกาย (Invasiveness)
เชื้อก่อโรค 5 ชนิด
เชื้อรา
โปรโตซัว
พยาธิ
แบคทีเรีย
ไวรัส
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ลักษณะของเชื้อจุลชีพมีผลต่อการติดเชื้อง่ายหรือยาก
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
การซักประวัติ
และตรวจร่างกายเก่ียวกับโรคของผู้ป่วย การรักษาท่ีได้รับ ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
รวบรวมข้อมูลจากการ ประเมินมาแล้วนําข้อมูลท่ีได้มากําหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ตัวอย่าง
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื่อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล (Planning and Implementation)
การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถแก้ไข หรือบรรเทาปัญหาของผู้ป่วยได้รวมท้ังมีการประเมินผลภายหลังให้การพยาบาลทุกคร้ัง
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
หลักปฏิบัติ Aseptic technique ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องมือ เครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
ปฏิบัติตามหลัก Standard precautions
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์มีคมท่ีใช้แล้วใน ภาชนะท่ีเหมาะสม
ทําความสะอาดส่ิงแวดล้อมท่ีเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย
ทำความสะอาดให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้ กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
Transmission - based precautions
วิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 3 วิธี
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne precautions)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกนํ้าลาย (Droplet precautions)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความอ่อนเพลีย
พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่าย
ความร้อนหรือเย็น
ความไวต่อการติดเชื้อ มากกว่า
กรรมพันธ์ุ
บางคนขาดสาร Immunoglobulin
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
ความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามาน้อยลง
ภาวะโภชนาการ
คนที่รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อย
ความเครียด (Stress)
คนที่มีความเครียดส่งผลต่อความไวการติดเชื้อง่ายกว่าคนปกติ
เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อยกว่า
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
การรักษาด้วยการฉายรังสีมีการทำลายเนื้อเยื่อ จึงง่ายต่อการติดเชื้อ
อาชีพ
บางอาชีพมีโอกาสสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อ
การทําลายเชื้อ (Disinfection)
การล้าง
โดยการสวมถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน และแว่นป้องกันตา การจับของแหลมคมต้องระมัดระวังอย่าให้ถูกตํา
การต้ม
การทําลายเชื้อที่ดีที่สุด ทําง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี
วิธีการต้มโดยท่ัวไปแนะนําต้มเดือดนาน 20 นาที
การใช้นํ้ายาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical handwashing)
การเตรียมผิวหนัง
การทําแผล ล้างแผลให้สะอาดด้วย : Steriled normal saline
การทําความสะอาดก่อนตรวจภายใน
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ Iodophor10%
การใช้สารเคมี
วิธีการสุดท้ายท่ีจะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
ประสิทธิภาพในการทําลายเชื้อได้
การทําลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
ทําลายจุลชีพก่อโรคได้
ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
การทําลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
ทำลายเชื้อราอ่อนกําลังลงไม่อันตรายต่อมนุษย์ แต่ไม่สามารถทําลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
การทําลายเชื้อระดับตํ่า (Low-level disinfection)
ถทําลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามารถทําลายเชื้อที่มีความคงทน
การทําให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
บรรจุอุปกรณ์ใน เตาอบโดยใช้อุณหภูมิสูง 160-180 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาน 1-2 ชั่วโมง
การต้ม (Boiling)
ต้มในน้ําเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที สามารถ ทําลายเชื้อแบคทีเรียได้ทุกชนิด
การเผา (Incineration)
ใช้ในการทําลายอุปกรณ์ที่จะไม่นํากลับมาใช้อีกต่อไป
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การนึ่งไอนํ้าภายใต้ความดัน (Autoclave)
อุณหภูมิสูงข้ึน ความดันสูงขึ้น ระยะเวลาที่ใช้ในการทําให้ปราศจากเชื้อจะสั้นลง
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
ใช้รังสีคลื่นสั้นในการทําให้อุปกรณ์ปราศจาก เชื้อเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพ ท้ังรังสีเอกซ (X-ray) และรังสีแกมมา (Gamma rays)
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
ประสิทธิภาพสูงและเหมาะสําหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้น
Formaldehyde
มีฤทธ์ิทําลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขวาง
การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde, Hydrogen peroxide และ Peracetic acid
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค (Agent)
เชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง (Normal flora
มีอัตราดื้อต่อยาปฏิชีวนะในอัตราสูง
คน (Host)
ความแข็งแรงหรือภูมิต้านทานโรคเป็นปัจจัยสําคัญ
ส่วนใหญ่คนภูมิคุ้มกันตํ่าจะติดเชื้อง่ายใจโรงพยาบาล
สิ่งแวดล้อม (Environment)
เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย ผู้ป่วยมีโอกาสติดเชื้อสูง
อาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ บุคลากรในโรงพยาบาล
การแพร่กระจายเชื้อ
เชื้อเข้าสู่ผู้ป่วยได้หลายวิธี
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ : (Vector-Borne transmission)
แพร่กระจายเชื้อโดยแมลง
เชื้อที่มีอยู่ในตัวแมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
การสัมผัสกับฝอย ละอองน้ํามูกน้ําลายท่ีมีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน มักเกิดขึ้นในระยะไม่เกิน 3 ฟุต
ผู้ป่วย ไอ จาม พูด และ ร้องเพลง
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม (Indirect–contact transmission)
ลูกบิดประตู
ผ้าปูที่นอน
เครื่องช่วยหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง (Direct–contact transmission)
การอาบน้ําเช็ดตัวผู้ป่วย
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนํา (Vehicle transmission)
การที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื่อนอยูทในเลือด
ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ํา ยา สาร น้ําที่ให้ทางหลอดเลือดดําแก่ผู้ป่วย