Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การตรวจร่างกาย - Coggle Diagram
บทที่ 2 การตรวจร่างกาย
-
ศีรษะและคอ (Head & Neck)
•ดู scalp และ skull ว่ามีก้อนหรือรอยโรคหรือไม่
•ดูเส้นผมสีความเปราะความเป็นมันหลุดง่ายดูหน้าการแสดงออกของสีหน้า voluntary movement
ตา (Eyes)
•ตรวจ visual acuity ให้อ่านข้อความหรือรูปที่ข้างฝาโดยตรวจทีละข้างถ้าให้ละเอียดขึ้นควรตรวจด้วย Snellen chart
-
-
-
•กระจกตาเลนส์และม่านตา (conjunctiva and sclera) ให้ผู้ป่วยมองขึ้นข้างบนแล้งใช้หัวแม่มือกดหนังตาล่างดูสีตุ่มและการบวม
-
-
หู (Ears)
•ดูรูปร่างและตำแหน่งของใบหูรูหูแก้วหูโดยใช้ otoscope ตรวจความสามารถการได้ยินอาจใช้เสียงกระซิบเบา ๆ หรือใช้ส้อมเสียง
จมูก (Nose)
•ดูรูปร่างของจมูกภายนอกใช้ไฟส่องในจมูกว่ามีสิ่งผิดปกติใดใดหรือไม่เช่นติ่งเนื้อ (polyp) เลือดหนอง
ปากและช่องคอหอย (Mouth & Pharaynx)
•เริ่มจากริมฝีปากกระพุ้งแก้มเหงือกฟันลิ้นทุกส่วนพื้นใต้ลิ้น (floor of mouth) เพดานปากช่องคอหอย (pharynx) ตามลำดับ
คอ (Neck)
•ตรวจต่อมน้ำเหลืองโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางให้ผู้ป่วยก้มหน้าและยื่นมาข้างหน้าเล็กน้อยคลำต่อมน้ำเหลืองตำแหน่งต่างๆดูขนาดรูปร่างเคลื่อนไหวความแข็งอ่อนอาการเจ็บ (tenderness)
•คลำ trachea ผู้ตรวจอยู่ด้านหน้าใช้นิ้วชี้ทั้งสองข้างสอดเข้าไปข้างๆ trachea พร้อมกันเพื่อดูว่ามีการเอียงไปด้านใดหรือไม่ถ้ามีอาจแสดงถึงมีก้อนหรือบางสิ่งดันอยู่
-
-
-
หัวใจ (Heart)
-ดูการทำงานของหัวใจ
-ดูท่าทางผู้ป่วยผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจเช่น heart failure
-ดู Jugular venous pressure โดยให้ผู้ป่วยนอนยกลำตัวสูง 30-40 องศา
-ดูสีของเยื่อบุต่างๆและเล็บว่ามีภาวะเขียว (cyanosis)
*การคลำเพื่อตรวจหัวใจและชีพจร :
เกี่ยวกับอัตรา (rate) จังหวะ (rhythm) และความแรง (intensity)
- คลำ thrill เป็นความสั่นสะเทือนที่สัมผัสได้ด้วยมือที่วางทาบอยู่บนทรวงอกเหนือตำแหน่งของหัวใจคลำ apex beat ซึ่งปกติในผู้ใหญ่จะคลำได้อยู่บริเวณช่องซี่โครงช่องที่ 5 ในแนวของ mid clavicular line *การฟังเสียงหัวใจ
เสียงทั่วไปที่ดังและได้ยินชัดเป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของลิ้นหัวใจ
-เสียงที่ 1 (S1) เป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของลิ้น Mitral และ Tricuspid
-เสียงที่ 2 (S2) เป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของลิ้น Aortic และ Pulmonary เป็นเสียงที่ค่อย แต่สูงกว่าเสียงแรก
เสียงหัวใจที่ผิดปกติที่พบบ่อย ได้แก่ เสียง murmur (เสียงฟีด) มักพบในผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบหรือผนังหัวใจรั่ว
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-