Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารเข้าและออกเซลล์, จินดา ธรรมมา ม.4/7 เลขที่ 52 - Coggle Diagram
การลำเลียงสารเข้าและออกเซลล์
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
เซลล์จะมีการรักษาสมดุลของความเข้มข้นของสารละลาย
ในเซลล์อยู่ตลอดเวลา เพื่อรักษาสภาพองค์ประกอบให้สมบูรณ์และทำให้การทำงานเป็นไปอย่างปกติ
การรักษาสมดุลของความเข้มข้นของสารละลายภายใน
เซลล์ท าได้โดยการล าเลียงสารเข้า – ออก
องค์ประกอบส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้ำและสาร
ต่างๆ ที่ละลายอยู่
เซลล์จะเป็นระบบปิด (Close system) มีการลำเลียงสารดังนี้
1.ลำเลียงแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบบใช้พลังงาน/ไม่ใช้พลังงาน
2.ลำเลียงแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบบนำสารเข้าเซลล์/ออกจากเซลล์
การลำเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
passive transport(ไม่ใช้พลังงาน)
เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายมากไปน้อย(ตามconcentration gradient)
simple diffusion(แพร่ธรรมดา) - การเคลื่อนที่ของ"ตัวถูกละลาย(solute)" จากเข้มข้นมากไปน้อยจนถึงสมดุลของการแพร่
เกิดการแพร่ที่ phospholipid bilayer ไม่อาศัยตัวพา(carrier)
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ 1.อุณภูมิ/ความดัน 2.ความแตกต่างความเข้มข้นสาร 3.สิ่งเจือปนและชนิดสารตัวกลาง 4.ขนาดและน้ำหนักโมเลกุลสารที่แพร่ 5.สถานะสารที่แพร่
facilitated diffusion(ฟาซิลิเทด) - การเคลื่อนของสารใดๆจากความเข้มข้นสูงไปต่ำ อาศัยตัวพา(carrier)
เกิดขึ้นได้เร็วกว่าแพร่ธรรมดาเพราะมีตัวพาช่วยลำเลียง แต่ถ้าสารมีความเข้มข้นมากถึงจุดหนึ่งความเร็วจะคงที่
hypertonic solution สารละลายที่มีความเข้มข้นสูงเมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ น้ำจะเคลื่อนที่ออกจากเซลล์ ทำให้เซลล์เหี่ยว(plasmolysis)
hypotonic solution สารละลายที่มีความเข้มข้นน้อยเมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ น้ำจะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ ทำให้เซลล์เต่ง(plasmoptysis)
osmosis(ออสโมซิส) - การเคลื่อนที่ของน้ำ เป็นตัวทำละลายผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากความเข้มข้นสารละลารต่ำไปสูง มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนปริมาณ
dialysis(ไดอะไลซิส) - ตรงข้ามออสโมซิส เป็นตัวถูกละลายผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากความเข้มข้นสารละลายสูงไปต่ำ
ประดิษฐ์เครื่องฟอกไต hemodialysis
ion exchange - แลกเปลี่ยนไอออนในเซลล์กับนอกเซลล์เป็น ion ขั้วเดียวกัน
imbibition - การดูดซับน้ำ พบในพืช อาศัยสารสำคัญในผนังเซลล์คือ cellulose และ pectin
active trasport(ใช้พลังงาน)
เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยไปมาก(ย้อนconcentration gradient)
ใช้สาร ATP คล้ายฟาซิลิเทดตรงที่ใช้ protein carrier แบ่ง 2 ประเภท
primary active transport ลำเลียงในทิศทางเดียวต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
secoundary active transport ลำเลียง 2 ทิศทางต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
การลำเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ลำเลียงสารที่มีโมเลกุลใหญ่มาก เยื่อหุ้มเซลล์จะห่อหรือโอบล้อมสารนั้นๆจนกลายเป็นถุง(vesicle) แบ่งเป็น
exocytosis(นำสารออก)
บรรจุในถุงvesicle ถุงจะค่อยๆเคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้นสารที่บรรจุอยู่จะถูกปล่อยออกนอกเซลล์
เช่น การหลั่งน้ำลาย การหลั่งเอนไซม์ การหลั่งสื่อประสาท
endocytosis(นำสารเข้าเซลล์)
phagocytosis - cell eating ลำเลียงสารสถานะของแข็งหรือวัตถุขนาดใหญ่ โดยใช้ pseudopodium ยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ไปโอบล้อมสาร เช่น การกินอาหารของอะมีบา การกินแบคทีเรียของเม็ดเลือดขาว
pinocytosis - cell drinking ลำเลียงสานสถานะของเหลวหรือสารละลาย โดยการเว้าเข้าไปของเยื่อหุ้มเซลล์(มีmicrofilament)
receptor –mediated
endocytosis นำสารเข้าโดยอาศัยตัวรับ มีโปรตีนบนเยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวรับ(protein receptor) สารต้องมีความจำเพาะในการจับโปรตีน
จินดา ธรรมมา ม.4/7 เลขที่ 52