Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่1การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
แบคทีเรีย
แบคทีเรียแกรมลบ (Gram Negative)
แบคทีเรียแกรมบวก (Gram Positive)
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
อีสุกอีใส
เริม
เชื้อหัด
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
พยาธิ
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
พยาธิเส้นด้าย (พบมากในเด็ก)
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
แหล่งเชื้อโรคที่มาจากคน
เชื้อที่แพร่กระจายไปสู่คนเรียกว่า Carrier
แหล่งเชื้อโรคที่มาจากสัตว์
เชื้อโรคแต่ละชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในแหล่งเชื้อโรคเฉพาะ
แหล่งเชื้อโรคที่มาจากพืช
แหล่งของเชื้อโรคที่เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
แหล่งเชื้อโรคที่มาจากดิน
แหล่งเชื้อโรคที่มาจากแมลงต่างๆ
เหา
เห็บ
หมัด
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เชื้อออกทางระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบหายใจ
เชื้อออกมาพร้อมน้ำมูก ลมหายใจ
โรคบางชนิดที่เชื้อก่อโรคออกจากร่างกายผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อจากการที่แมลงกัดหรือดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
เชื้อจากมารดาสู่ทารกในครรภ์โดยผ่านทางสายสะดือ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
เชื้อจุลชีพแต่ละชนิดมีวิธีการแพร่กระจายที่แตกต่างกัน
การหายใจ
การแพร่กระจายที่มีตัวนำ
การสัมผัส
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อไปหาผู้อื่น
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
เชื้อโรคมักจะมีทางเข้าทางเดียวกับทางออก
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังทีฉีกขาด
เมื่อเชื้อโรคออกจากแหล่งเชื้อโรคแล้ว จะทำให้เกิดโรคได้ ต้องเข้าทางร่างกายมนุษย์ใหม่ (Host)
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่ได้รับ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ลักษณะของจุลชีพ
ภูมิคุ้มกันโรค
จะต้องมีวงจนของการติดเชื้อครบวงจร
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
คน (Host)
บุคคลากรในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
เด็กที่มีภูมิต้านทานยังพัฒนาไม่เต็มที่
ผู้อายุ
ส่วนมากเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล
สิ่งแวดล้อม (Environment)
อาคาร
สถานที่
เครื่องมือเครื่องใช้
ญาติมรามาเยี่ยม
บุคคลากรในโรงพยาบาล
เชื้อโรค (Agent)
เชื้อที่พบบนร่างกายผู่ป่วยเอง (Normal flora หรือ Colonization)
เชื้อก่อโรคติดเชื้อในโรคพยาบาลที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ เชื้อแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่ง (Gram Negative bacilli)
มีอัตราดื้อต่อยาปฏิชีวนะในอัตราสูง
เป็นเชื้อที่เคยสัมผัสกับยาต้านจุลชีพมาก่อน
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ(Vehicle transmission)
น้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
ผู้ป่วยจะได้รับสิ่งที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่ครั้งละหลายคน
การติดเชื้อจากติดเชื้อsalmonella จากอาหาร
เกิดจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airbone transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบหายใจ
เชื้อจุลชีพจะอยู่ในรูปของ Droplet nuclei (มีขนาดเล็กกว่า Droplet ซึ่งเกิดจากการไอจาม)
เชื้ออีสุกอีใส
งูสวัด
เชื้อวัณโรค
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
มักเกินขึ้นในระยะไม่เกิน 3 ฟุต
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่เชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง (Direct-contact transmission)
มีการสัมผัสกันโดยตรงระหว่างคนต่อคน
เกิดจากการที่มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
การแพร่เชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม (Indirect-contact transmission)
สัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
ของเล่นในแผนกเด็กป่วย
ลูกบิดประตู
ผ้าปูที่นอน
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ (Vector-Bone transmission)
คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด
เชื้อที่มีอยู่ในตัวแมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
การถูกยุงที่มีไวรัสเด็งกี่กัด
ถูกยุงที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
แมลงวันเกาะขยะแล้วมาเกาะอาหาร
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลงหรือสัตว์นำโรค
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ(Disinfection)
การต้ม
ทำง่าย ประหยัด
มีประสิทธิภาพดี
เป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดีที่สุด
วิธีการต้มทั่วไปแนะนำต้มเดือดนาน 20 นาที
การใช้สารเคมี
ฤทธิ์ของการทำลายเชื้อของสารเคมีเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยต่างๆ
เชื้อโรค
อายุของน้ำยา
อุณหภูมิ
ความเข้มข้น
ความเป็นกรดด่าง
ปริมาณ
เป็นวิธีสดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
การล้าง
เมื่อจับของแหลมคมต้องระมัดระวังอย่าให้ถูกตำหรือบาดได้
ผู้ล้างต้องระมัดระวังไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ผ้ากันเปื้อน
แว่นป้องกันตา
สวมถุงมือยาง
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การเตรียมผืวหนัง
ผ่าตัดเล็กใช้Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2%
ผ่าตัดให๋ใช้ฟอกให้เป็นบริเวณกว้างด้วย Chlorhexidine 4%
เพื่อการฉีดยาใช้ Alcohol 70%
การทำแผล ล้างแผลให้สะอาบด้วย Steriled normal saline
ถ้าแผลมีหนองมากให้ทำWet dressing ด้วย Steriled normal saline ไม่ควรใช้น้ำยาฆ่าเชื้อทาในบาดแผลเพราะน้ำยาจะไปทำลายการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
ถ้าแผลสกปรกเช็ดผิวหนังรอบๆแผล ด้วยAlcohol 70%
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical handwashing)
การทำคลอด
ถ้าเป็นการทำหัตถการครั้งแรกของวันให้แปรงมือและแขนถึงข้อสอกให้ทั่วทุกซอกทุกมุมด้วย Chlorhexidine4% อย่างน้อย5นาที
การผ่าตัด
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนตรวจภายใน
ใช้ Cetrimide 15% + Chlohexidine 1.5% เจือจาง 1:1
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว การล้างือหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งของปนเปื้อนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วย
การสวนล้างช่องคลอด
Cetrimide 15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง 1:1
Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ใช้ lodophor 10%
ระดับการทำลายเชื้อมี3ระดับ แบ่งออกตามประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อ
การทำลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
ทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอ่อนกำลังลงไม่เกิดอันตรายต่อมนุษย์ แต่สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
การทำลายเชือระดับตำ (Low-level disinfection)
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามรถทำลายเชื้อที่มีความคงทนได้
Tuberculosis bacilli
สปอรืของเชื้อแบคทีเรีย
การทำลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
สามรถทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมถึงสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ระยะเวลาการนึ่งขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความดัน
การนึ่งไอน้ำความดัน (Autoclave)
การใช่รังษี (lonzing radiation)
การใช้รังสีคลื่นสั้นในการทําให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ
รังสีเอกซ์ (X-ray)
รังษีแกมมา(Gamma rays)
ให้รังสีสัมผัสโดยตรงกับเชื้อจุลชีพ
รังสีอุลตร้าไวโอเลท (Ultraviolet light: UV)
สามารถทําลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด
แทรกซึมเข้าสู่อุปกรณ์ไม่ดี
รังษี UVช่วยลดจํานวนเชื้อก่อโรคที่มีอยู่ในอากาศในห้องผ่าตัด และในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาได้ แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
จะบรรจุอุปกรณืในเตาอบโยใช้อุณหภูมิสูง 160-180 องศาเซลเซียส นาน12ชั่วโมง
เหมาะสำหรับอุปกรณืประเภทโลหะ
การต้ม (Boiling )
ต้มน้ำเดือด100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียและไวรัสได้ทุกชนิด
สปอร์ของเชื้อแบคทีเรียบางชนิดสามารถทนต่อการต้มเป็นเวลานานได้
การเผา (Incineration)
ใช้ในการทำลายอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนหรือไม่นำกลับมาใช้อีก
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้ High-level disinfectant ได้แก่ Glutaraldehyde, Hydrogen peroxide และ Peracetic acid
ใช้ห่ออุปกรณ์ที่ผ่านการทําให้ปราศจากเชื้อและวจะมีระยะเวลาในการคงสภาพปราศจากเชื้อ หรือที่เรียกว่า Shelf life
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas
เป็นวิธีทําให้ปราศจากเชื้อที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
มีประสิทธิภาพสูงและเหมาะสําหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
มีดไฟฟ้า
สายสวนต่างๆ
อวัยวะเทียม
เครื่องมือทางจักษุวิทยา
หัวจี้ให้เลือดหยุด
Fiber optic scopes
Formaldehyde gas
มีฤทธิ์ทําลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขวาง
ง สามารถอบให้ปราศจากเชื้อได้ภายใน 6-12 ชั่วโมง ถ้าเป็นสปอร์ของแบคทีเรียต้องใช้เวลานาน 2-4 วัน
ถ้าใช้อบร่วมกับไอน้ํา (Sub-atmospheric steam) จะช่วยให้ประสิทธิภาพในการทําลายเชื้อสูงขึ้น และใช้เวลาสั้นลงเป็น 3-5 ชั่วโมง
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ยึดหลักปฏิบัติ Aseptic technique หรือ เทคนิคปลอดเชื้อ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
การวางแผนและให้การพยาบาล (Planning and Implementation)
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คําแนะนําการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ(Airborne precautions)
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มีประสิทธิภาพ ห้องแยกควรมีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย 6 รอบต่อชั่วโมง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีความจําเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ (Isolation) และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส(Contact precautions)
สวมเสื้อคลุมหากคาดว่าอาจสัมผัสเลือดสารคัดหลั่งหนองอุจจาระของผู้ป่วย
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นต้องเคลื่อนย้าย ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการแปดเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อม
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ํายาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
หากสามารถทําได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สําหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ หากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้ต้องทําความสะอาดและทําลายเชื้อก่อนนําไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งหรือส่วนของร่างกายที่น่าจะมีเชื้อโรคจํานวนมากขณะให้การพยาบาลผู้ป่วยรายเดิม
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกน้ําลาย(Droplet precautions)
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคหรือที่อยู่ของสัตว์พาหะ
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล เพื่อให้ทราบลักษณะการเกิดและการกระจายของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรจะแยกจากแหล่งของเชื้อโรค และพยายามรักษาสาเหตุที่ทําให้ภูมิคุ้มกันโรคเสียไป
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กําจัดเชื้อโรค แหล่งของเชื้อโรคอาจจะเป็นมนุษย์ สัตว์ หรืออาคารสถานที่
Standard precautions
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง โดยล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วย ก่อนให้การพยาบาลผู้ป่วย เมื่อสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง หลังสัมผัสผู้ป่วย และหลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค (Hygienic hand washing)
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical hand washing)
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน หรือในบริเวณที่ไม่มีอ่างล้างมือ
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ (Sterile glove)
ถุงมือสะอาด (Non–sterile glove)
เสื้อคลุม
ผ้าปิดปากและจมูก
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการสัมผัสกับสารคัดหลั่ง
ทําความสะอาดและทําลายเชื้อ หรือทําให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
ปัจจัยมีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด (Stress)
มีความไวในการติดเชื้อง่ายกว่า
คนที่พึ่งฟื้นจากการผ่าตัดใหม่ๆ
ภาวะโภชนาการ
คนที่ขาดอาหารจะติดเชื้อไวกว่า
คนที่ขาดอาหารมักติดโรคต่างๆได้ง่าย
วัณโรค
ความอ่อนเพลีย
คนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า
คนที่ทำงานหนักเกินไป
ความร้อนหรือเย็น
คนที่ได้รับความร้อนหรือเย็นมากจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อมากกว่า
ความสามารถในการต้านเชื้อโรคน้อย
ถ้าเย็นจัดเกินไป จะไปลดการเคลื่อนไหวของขนอ่อนในระบบทางเดินหายใจ
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
ความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคทีรุกรานเข้ามาน้อยลง
คนที่มีอาการแพ้ต่างๆหรือโรคเรื้อรัง จะมีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
มักพบโรคปอดบวมในผู้ชายมากกว่า
พบโรคอีดำอีแดงในผู้หญิงมากกว่า
กรรมพันธุ์
คนขาดสาร Immunoglobulin
อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
การสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายไม่ได้ดีเท่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อยกว่า
ร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอ
คนสูงอายุมักมีโรคเรื้อรังร่วมอยู่ด้วย
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสี
คนไข้ที่ได้รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
อาชีพ
บางอาชีพมีโิกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1