Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่
-ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์
-และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
-รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
-ควบคุมสภาพสมดุลของเหลวภายในร่างกาย
-ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้เป็นปกติ
-ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอนไซม์ไปให้เซลล์
-ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
สาเหตุความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
-โรครูห์มาติก
-ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
-ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลังกำเนิด
•การติดเชื้ออื่นๆที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
•Bactenal endocarditis
•Atherosclerosis
หน้าที่ของหัวใจ
-หัวใจมี4ห้อง แบ่งเป็น
-ซีกซ้าย/ขวา แต่ละซีกประกอบด้วย หัวใจห้องบน/ล่าง
ระหว่างห้องบนกับห้องล่างมีลิ้นหัวใจ
•ทำหน้าที่เปิด-ปิด
•เพื่อไม่ให้เลือดไหล ในทิศทางเดียว และไม่ไหลย้อนกลับ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
-ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
-ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ
-ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ oxygen ไม่สมดุลกับ oxygen ที่ใช้
ระบบไหลเวียนโลหิต แบ่งเป็น2ส่วน
1.วงจรไหลเวียนทั่วร่างกาย (systemic circulation)
2.วงจรไหลเวียนผ่านปอด(pulmonary circulation)
โรคของลิ้นหัวใจ
1.ลิ้นหัวใจตีบ
•ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/หนา/ติดกัน
•ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
1.ลิ้นไมตรัลตีบ
2.ลิ้นไตรคัสปิดตีบ
3.ลิ้นเอออร์ติคตีบ
4.ลิ้นพูลไมนิคตีบ
2.ลิ้นหัวใจรั่ว
•ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
•เมื่อลิ้นหัวใจรั่วทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
•เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว แทนที่จะนำเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงทั่วร่างกาย
1.Aortic regurgitation
2.pulmonary regurgitation
3.Mitral regurgitation
4.tricuspid regurgitation
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (congenital heart disease)
-กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว
1.patent Ductus. Arteriosus
2.ventricular septal Defect
3.Artrial septal Defect
4.coarctation of aorta
5.pulmonary stenosis
6.Aortic stenosis
-กลุ่มที่มีอาการเขียว
1.tetralogy of fallot
2.transposition of the great arteries
3.pulmonary atresia
4.tricuspid atresia
เปรียบเทียบความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรั่ว
-ปิดไม่สนิท
-เลือดไหลย้อนกลับ
-regurgitation
ลิ้นหัวใจตีบ
-เปิดไม่เต็มที่
-เลือดไหลออกไม่สะดวก
-stenosis
ปวดหัวใจจากการขาดเลือด แบ่งเป็น2กลุ่ม
1.แบบคงที่(stable angina)
-เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีตำแหน่งตีบตันทั่วไปอย่างคงที่
และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจพอเพียง
-ถ้าเริ่มทำงานแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้น เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
ในปริมาณเดิมก็จะไม่เพียงพอ เกิดพอเวลามีการใช้กำลังกาย หรือมีความเครียดหรือตื่นเต้น
-โดยไม่เลยไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตาย
2.แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
-การเกิดรอยแตกที่คราบไขมัน ซึ่งพอกผนังเส้นเลือดแดงอยู่
-พบรอยแยกแล้ว ร่างกายมีการตอบสนองคือ
-เม็ดเลือดขาวมาควบคุมจนเกิดปฏิกิริยาการอักเสบแล้วมีการแข็งตัวของเลือดใกล้ๆ คราบไขมันที่แตกนั้น
-ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัว จะมีขนาดใหญ่ขึ้น จนเกิดการอุดตัน
-และเจ็บหน้าอกมากหรือไม่ก็ข้ามขั้นตอนไปเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
การไหลเวียนโลหิตแบ่งเป็น2ส่วน
1.หัวใจ พร้อมทั้งการทำงานโดยละเอียด
2.หลอดเลือด มีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไกการทำงาน
หัวใจวาย (Heart attack)
เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร จะมีอาการรุนแรงมาก เหงื่อออก หมดแรง
Endocarditis (เยื่อบุหัวใจอักเสบ)
มักมีลักษณะเป็นก้อนขึ้นจากผิว เรียก vegetation
การปวด(Angina Pectoris)
จากหัวใจเจ็บหรือแน่นหน้าอกเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ