Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost), นางสาวณัฐมล…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
คำถามที่ต้องการคำตอบ
Effectiveness ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
Efficiency(ประสิทธิภาพ) คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
• ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง“ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical efficiency)”
• สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่าที่สุด“ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)"
• สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงที่สุด“ประสิทธิภาพในการจัดสรร(Allocative efficiency)”
Efficacy ดีจริงหรือไม่
Equity เป็นธรรมหรือไม่
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
• การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง ต้นทุน(costs) และ ผลลัพธ์ (benefits)
• การวัดผลทางสุขภาพมีความสาคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
• อะไรถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่ด ีของการวัดผลทางสุขภาพ?
Health status evaluation
health outcomes
Measuring health การวัดผลลัพธ์สุขภาพ
Valuing health การให้ค่าสุขภาพ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย
ความรู้สึก (Feeling)
การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
การรอดชีวิต (Survival)
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ(Health care cost)
• มุมมองต้นทุน
• ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs.
ต้นทุนด ำเนินกำร (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs.
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) vs.
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs.
ต้นทุนทำงอ้อม (Indirect costs)
แยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost )
ต้นทุนเฉลี่ย(Average cost)
• ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพจากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้ค้านวณอัตราคืนทุนเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่ากิจกรรมใดควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ท้าให้มีข้อมูลและสามารถน้าเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวดและมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส้าหรับผู้บริหาร
• ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั้งเดิม มีความเรียบง่าย ความเที่ยงตรง และตรวจสอบได้ง่าย
Activity Approach (Activity based costing: ABC)
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมหรือระบบ ABC เป็นเครื่องมือในการบริหารงานในลักษณะการบริหารงานฐานคุณค่า
การคำนวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
นางสาวณัฐมล จันทร์โป๊ ห้อง1B เลขที่15 รหัสนักศึกษา623601105