Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, hypertension-01…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
การตรวจร่างกาย
หาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
จอประสาทตา ประเมินภาวะ increased intracranial pressure
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก blurred
vision ,change in level of consciousness,Coma
แตกของ retina blood vesselsและ retina nerves ถูกทำลาย
การรักษา
ความดันโลหิจลงจากระดับเดิม20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาที่ใช้ในโรงพยาบาล
vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker,
angiotensin-converting enzyme inhibitor
เป้าหมายเพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
ยาที่มีในไทย
sodium nitroprusside,nicardipine, nitroglycerin, labetalol
อาการและอาการแสดง
Myocardial infarction
Unstable angina
Acute cardiovascular syndromes
Pulmonary edema
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Aortic dissection
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
การใช้ยาบางชนิด
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
(Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Exacerbation of chronic hypertension
เเบ่งออก
Hypertensive urgency
สูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย
Hypertensive emergency
สูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และ Kidney failure
แบ่งออก
Hypertensive emergency
อาจเกิดในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงมาก่อน
malignant hypertension
สูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
Cardiovascular disease (CVD)
Target organ damage (TOD)
เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
การพยาบาล
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
รักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside
Acute Heart Failure (AHF)
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Diastolic heart failure
การคลายตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกต
Systolic heart failure
การบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่าง (Left ventricle) ลดลง
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
ต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ
ไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1
Low-output heart failure
หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง
ภาวะหัวใจล้มเหลว
Acute heart failure
อาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็ว ไม่เคยเป็นมาก่อน
Chronic heart failure
มีประวัติเป็นมาก่อน
อยู่ในกลุ่ม Stable chronic heart failure
ชนิดแบ่งตามเวลาการเกิดโรค
Transient
มีอาการชั่วขณะ
Chronic
ที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ (Stable)
New onset
เกิดขึ้นครั้งแรก
ที่เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจ
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Right sided-heart failure
เกิดที่อวัยวะต่างๆ
ขา เป็นลักษณะบวม กดบุ๋ม เส้นเลือดดำ ที่คอโป่งพอง (Jugular vein distention) ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำ ในช่องท้อง (Ascites)
Left sided-heart failure:
เกิดที่ปอด
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ ไอเสมหะสีชมพู Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
การพยาบาล
ควรติดตามค่าการทำงานของไต (BUN, creatinine)
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
ลดภาวะคั่งน้ำ (Congestion) ซึ่งได้แก่ Pulmonary congestion
ไม่ตอบสนองพิจารณา
เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง
ให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด
ไม่แนะนำให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ ในผู้ป่วย Acute heart failure
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด
ไม่ควรใช้ Sodium nitroprusside ในผู้ป่วย Acute myocardial ischemia
Nitroglycerine โดยให้ติดตามความดันโลหิตและอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ไม่แนะนำให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย
การประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ
Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle
ประเภทของ VT
Sustained VT
นานกว่า 30วินาทีซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT
เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาท
Polymorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease)
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
กล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
ไม่พบ P wave ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า0.12 วินาที VT อาจเปลี่ยนเป็น VF ได้ในทันทีและทำให้เสียชีวิต
อาการเกิดทันทีผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจล าบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุ
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำ
VT และคลำชีพจร ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
VT และคล าชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ
CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
อาการและอาการแสดง
หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
การพยาบาล
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
สาเหตุ
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hypoxia
Hyperkalemia
Hypovolemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
ไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex ระบุไม่ได้ว่าส่วนไหนเป็น QRS complex
Atrial fibrillation (AF)
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
ถ้าอัตราการเต้นของ ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า rapid ventricular response
ประเภทของ AF
Permanent AF
เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Lone AF
ที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ
Persistent AF
ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Paroxysmal AF
หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
รักษา
ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ (rate control) และจังหวะ (rhythm control) ให้กลับไปสู่ sinusrhythm และให้ยา Anticoagulation เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
อาจเกิดstroke เป็นอัมพาตหรืออัมพฤกษ์และทำให้เกิด pulmonary embolus
จี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ (Poor tissue perfusion) หากรักษาไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว (Organ failure) ตามมา
Classification of shock
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
High cardiac output shock
(Distributive shock, hyperdynamic shock)
Supportive treatment
Airway: Upper airway obstruction เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Cardiogenic shock : Dopamine หากความดันโลหิตต่ำเท่านั้น ไม่ควรใช้เป็นยาตัวเเรก
Obstructive shock :ใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ำมาก ดีขึ้น Dobutamine
Hypovolemic shock :ไม่มีที่ใช้ของ Vasoactive drugs
Septic shock: Norepinephrine ก่อน ส่วนการเลือก Dopamine ในผู้ป่วยที่มีปัญหา Cardiac contractility
Endocrinologic shock
Anaphylactic shock :เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
Neurogenic shock: เลือก Dopamine ก่อน