Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal pathophysiology พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร - Coggle…
Gastrointestinal pathophysiology
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
โรคของหลอดอาหารDisease of Esophagus
Esophagitis and Laceration : หลอดอาหารอักเสบและฉีกขาด
Esophageal varices: หลอดเลือดดำที่หลอดอาหารโป่งพอง
เป็นภาวะที่มีการโป่งพองของหลอดเลือดที่ submucosa ของ หลอดอาหารส่วนล่าง
ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยที่มีตับแข็ง
ส่วนใหญ่เป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วย อาเจียนเป็นเลือดรุนแรง/Severe hematemesis
ผู้ป่วยตับแข็ง นอกจาก esophageal varices แล้วจะมีเส้นเลือดโป่งพองที่ rectal canal(hemorrhoids)
Barrett esophagus
Achalasia : ภาวะหูรูดไม่คลายตัว
ความผิดปกติของการบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหารสัมพันธ์กับ Motor Dysfunction
ขณะกลืนอาหารหรือน้ำกล้ามเนื้อที่ Lower esophageal sphincter(LES) คลายตัวไม่เต็มที่ทำให้ lumen แคบกลืน อาหารลำบาก
พยาธิสภาพที่พบ คือ จำนวนของ motor neuron ที่ผนังหลอด อาหารลดลง หรืออาจจะไม่มีmotor neuron
หลอดอาหารไม่มี peristalsis
ภาวะแทรกซ้อนตามมา คือ การอักเสบของหลอดอาหาร การอักเสบของปอดเนื่องจากการสำลัก/Aspirate pneumonia
ผลที่ตามมาของ Achalasia คือ 1.กลืนอาหารลำบาก/dysphagia ,2. มีการไหลย้อนของอาหารออกมา/regurgitation , 3.และ การขยายขนาดของหลอดอาหาร/esophagealdilatation
Esophageal varices : หลอดเลือดดำโป่งพอง
Esophageal stenosis, web and ring:การหนาตัวของหลอดอาหาร
Neoplasm: การแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์หลอดอาหาร
Congenital anomalies: Atresia and fistula : หลอดอาหารอุดตันและมีรอยรั่วแต่กำเนิด
Etiology: พบในทารกที่มีความผิดปกติของโครโมโซม(trisomies 21 ,13,18) มักพบมีความผิดปกติของหัวใจและทางเดินอาหารส่วนอื่นๆร่วมด้วย
โรคของกระเพาะอาหาร (Diseases of Stomach)
Acute gastritis: เยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบเฉียบพลัน
ลักษณะที่พบ: mucosa บวมแดง อาจจะมีจุดเลือดออก และ
อาจจะมีการหลุดลอกของ mucosa เป็นแผลตื้นๆ
สูบบุหรี่มาก
การดื่มกรด-ด่าง
ดื่มแอลกอฮอล์มากและเป็นประจำ
ได้รับ Cancer chemotherapy
รับประทานยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs เช่น aspirin เป็น
ประจำ
เนื่องจากการเจ็บป่วยอื่นๆ เช่น Uremia, Systemic
infection, Severe stress
Chronic gastritis: เยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
การอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุ mucosa ร่วมกับมี mucosal atrophy และ epithelial metaplasiaทำให้มีอาการปวดท้องแน่นท้อง เรื้อรัง (Dyspepsia) มีโอกาสเกิด dysplasia และ เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง
ดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่มากเป็นประจำ
จากการผ่าตัด Post antrectomy ท าให้น้ำดีไหลย้อนจากลำไส้ เล็กส่วนต้นมาระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร และจาก Radiation
ภาวะทางภูมิคุ้มกันมี antibody ทำลาย parietal cells เกิด gastric hypochlorhydria และ perniciousanemia
การติดเชื้อในกระเพาะอาหารเรื้อรัง โดยเฉพาะจาก H. pylori
แผลในกระเพาะอาหาร (peptic ulcer)
กระเพาะอาหารชั้น mucosa เกิดแผลขนาดใหญ่ อาจจะลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ สาเหตุหลักเกิดจากน้ำย่อยจากกระเพาะอาหารย่อยตัวเอง จากการไม่สมดุลกันของการหลั่งน้ำย่อยและสารเมือกกับการทำกรดให้เป็นกลาง
แผลที่กระเพาะอาหาร เรียกว่า Gastric ulcer
แผลที่ duodenum เรียกว่า Duodenal ulcer
Malignancy of Stomach: มะเร็งกระเพาะอาหาร
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
อาหาร โดยเฉพาะอาหารที่มีการรักษาสภาพในรูปแบบต่างๆ เช่น รมควัน
การสูบบุหรี่เพิ่มความเสี่ยงประมาณ 1.5-3.0 เท่าของคนที่ไม่สูบบุหรี่
ปัจจัยด้านบุคคล
Autoimmune gastritis
เคยผ่าตัดกระเพาะอาหารมาก่อน Partial gastrectomy ทำให้เกิดการไหลย้อนของน้ำดีมาทำลายกระเพาะอาหาร
การติดเชื้อ H.pylori ทำให้เกิดการอักเสบเรื้อรังที่เยื่อบุ
Congenital anomalies
Gastroschisis: เป็น abnormal fetal developmentผนังหน้าท้องไม่ปิด มีส่วนของอวัยวะภายในยื่นออกมานอกช่องท้อง โดยไม่มีถุงหุ้ม
Omphalocele: เป็น abnormal fetal development มีก้อนเป็นถุงยื่นที่หน้าท้องบริเวณ umbilicus โดยที่ภายในถุงจะมีลำไส้
Acute appendicitis: ไส้ติ่งอักเสบ
อาการของผู้ป่วยโดยทั่วไปเริ่มจากปวดท้องรอบๆสะดือ
บอกตำแหน่งได้ไม่ชัดเจนต่อมาอาการปวดท้องจะเริ่มชัดเจนที่ ท้องน้อยด้านขวาล่างบางรายมีคลื่นไส้อาเจียน ตรวจพบว่ากดเจ็บชัดเจนที่ right lower quadrantอาจจะมีไข้ต่ำๆ และตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวในเลือดเพิ่มขึ้น >15,000 cells/mm3
Intestinal obstruction: ภาวะลำไส้อุดตัน
การอุดตันของลำไส้อันเนื่องจากสาเหตุต่างๆ: Hernia, Postsurgical adhesion/พังผืดหลังผ่าตัด, Intussusception/ลำไส้กลืนกัน และ Volvulus/ลำไส้บิดขั้ว
Diseases of Liver, pancreas and Bile ducts:
โรคของตับ, ตับ อ่อนและทางเดินน้ำดี
Hepatic Failure: ตับวาย
Massive hepatic necrosis โดยมากเกิดเนื่องจาก
การติดเชื้อ Viral Hepatitis A and B
ไวรัสตับอักเสบ เอ : HAV
ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส)สามารถทนอยู่ได้ในน้ำอย่างน้อย 2 เดือน
ทนในน้าทะเล 4 องศาเซสเซียส นาน 3 เดือน
ทนความร้อน 60 องศาเซลเซียส ได้นาน 1 ชั่วโมงหรือ ขบวนการพลาสเจอไรส์ (pasteurization) ถูกทำลายโดยไมโครเวฟ (Microwave)
ทนในตู้เย็น นาน 2 ปี
ทนต่อความเป็นกรด (pH 3)
การฉีดวัคซีนเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบ เอ หลังจากฉีดวัค ซีนประมาณ 1 เดือน วัคซีนจะมีผลเกือบ 100%
ไวรัสตับอักเสบ บี : HBV
HBV ค่อนข้างทนทานโดยไวรัสที่อยู่ในซีรั่มเมื่อปนเป้ื้อนในที่ที่มีอุณหภูมิห้องประมาณ 24 ถึง 30 องศาเซลเซียสนานถึง 6 เดือน เช้ือไวรัสก็ยัง สามารถก่อโรคได้
ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเช้ือได้แก่: การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ติดเช้ือไวรัส ใช้เข็ม ฉีดยาร่วมกัน
ทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเช้ือให้วัคซีนป้องกนั HBV แก่เด็กแรกเกิดทุกคนโดยให้เข็มที่ 1 ภายใน 12 ชวั่ โมงหลังคลอด เข็มที่ 2 เมื่ออายุ 1 เดือน และเข็มที่ 3 เมื่ออายุ6 เดือน เพื่อป้องกนั การติดเช้ือที่จะผ่านมาจากแม่
ไวรัสตับอักเสบซี : HCV
HCV ติดต่อจากเลือดสู่เลือด (blood to blood contact) เท่านั้น เช่น การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
ยาหรือสารพิษบางอย่าง เช่น acetaminophen