Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Precipitous Labor - Coggle Diagram
Precipitous Labor
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
- แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องทางคลอดไม่ดี
- การหัดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
-
- ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
- เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
- ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่งซึ่งพบได้น้อยมาก
-
- ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การรักษา
- ให้การดูแลตามอาการ ถ้าประสบกับการคลอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
- การให้ยา รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกควรหยุดให้ยาและดูแลอย่างใกล้ชิดอาจให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก รายที่มีการคลอดเฉียบพลันภายหลังคลอดแพทย์มักจะให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และให้ยา Methergin หลังคลอดเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
- การผ่าตัด ทำในรายที่มีการคลอดเฉียบพลันแต่การขยายของปากมดลูกไม่ดี ซึ่งอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะมดลูกแตก หรือน้ำคร่ำอุดกั้นในกระแสเลือด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
- เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด มดลูกมีการเปลี่ยนแปลงจากขนาดใหญ่มาเป็นขนาดเล็กเร็วเกินไป
-
- อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
- มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง
- มีการคั่งของเลือดภายใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
- ตกเลือดหลังคลอด เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดในระยะ 24 ชั่วโมงแรก จากการสูญเสียเลือดปริมาณมาก เนื่องจากมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อช่องทางคลอด และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ทารก
-
- อาจเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
-
- ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะช่วยคลอดไม่ทัน
อาการและอาการแสดง
มีอาการเจ็บครรภ์อย่างมาก มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า 5 ครั้ง ในเวลา10 นาที ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยายมากกว่าหรือเท่ากับ5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จนถึงคลอดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง หรือระยะที่ 2 ของการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาที หรือมีการเปิดขยายของปากมดลูกในระยะปากมดลูกเปิดขยายเร็ว 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์แรก และมากกว่า10 เซนติเมตร/ชั่วโมงในครรภ์หลัง
-