Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกค้าง รกติด - Coggle Diagram
ภาวะรกค้าง รกติด
การประเมินสภาพ
- ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัว หรือมีเพียงเล็กน้อยหลังทารกคลอดนาน 20-30 นาที
- มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
- ในกรณีที่มีเศษรกค้าง ตรวจพบดังนี้มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมากภายหลังรกคลอดตรวจรกพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรกขาดหายไป
- มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการของการช็อกจากการเสียเลือดมาก
การพยาบาล
- ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
- ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอด โดยตรวจดูอาการแสดง (signs) ของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์
- ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก
-
-
3.3 ผู้ทำคลอดอาจสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอด เพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูกว่ามีการหดเกร็งของปากมดลูก (cervical cramp)
3.4 ลองทำคลอดรกโดยวิธีดึงสายสะดือ (control cord traction) ซึ่งรกจะคลอดได้ในกรณีที่รกลอกตัวแล้ว แต่มี cervical cramp หรือปากมดลูกบีบรัดรกเอาไว้ รกจะถูกดึงให้ผ่านส่วนที่บีบรัดไว้ออกมาได้ แต่ถ้าลองดึงดูแล้วรกยังติดอยู่ :no_entry: ห้ามดึงต่อไปด้วยกำลังแรง เพราะสายสะดืออาจขาดหรือมดลูกปลิ้น หรือมีเศษรกขาดค้างอยู่ในโพรงมดลูกได้
- รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก
-
สาเหตุ
-
1.2 รกผิดปกติ ถึงแม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติ แต่รกไม่สามารถลอกออกมาได้เนื่องจากภาวะรกติด (placenta adherens)
1.2.1 placenta adherens ตามปกติแล้ว trophoblast จะไม่สามารถผ่านลงไปลึกกว่าชั้นspongiosa ของเยื่อบุผนังมดลูก
1.2.2 placenta membranacea รกผิดปกติชนิดนี้ เป็นแผ่นแผ่บางไปทั่วส่วนใหญ่ของโพรงมดลูก ความบางของรกชนิดนี้ทำให้รกสามารถมีการย่นยู่
1.2.3 placenta succenturiata หรือ placenta spurium รกผิดปกติกลุ่มนี้ คือ เป็นรกที่มีรกน้อยร่วมด้วย โดยส่วนของรกน้อยอาจขาดค้างอยู่ในโพรงมดลูกได้
2.1 รกลอกตัวแล้วแต่ไม่อาจผ่านออกมาจากโพรงมดลูกส่วนบนได้ เกิดขึ้นเนื่องจากการหดรัดตัวที่ผิดปกติของมดลูก
-
-
-
3.3 เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้เกิดรกค้าง เช่น ผ่าท้องคลอด ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออกจากโพรงมดลูก (myomectomy ) หรือเคยขูดมดลูก
-
การรักษา
- ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวและคลายตัวเป็นระยะ ๆ ได้ดีขึ้น ช่วยส่งเสริมกลไกการลอกตัวของรก ทำให้รกลอกตัวออกมาได้
- ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก ได้แก่ให้ยาอดรีนาลีน (adrenalin) 1:1,000 จำนวน 0.3-0.5 ซี.ซี. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อให้ยา 20% แมกนีเซี่ยม ซัลเฟต (20% magnesium sulphate) 20 ซี.ซี. ฉีดเข้าเส้นโลหิตช้า ๆ
- ถ้าให้ยาแล้วไม่อาจช่วยให้รกลอกตัวสมบูรณ์ และรกไม่สามารถคลอดออกมาได้ แสดงว่ารกฝังตัวลึกต้องช่วยเหลือด้วยการล้วงรก (manual removal of the placenta)
-