Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบหัวใจและหลอดเลือด, ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบหัวใจและหลอดเลือด
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ความหมาย
หัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
ECG ไม่สามารถบอก P wave ได้ ชัดเจนจังหวะไม่สม่ำเสมอ QRS complex ไม่เปลี่ยนแปลง
อัตราการเต้นของ atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
ventricle 60-100 ครั้ง/นาที เรียกว่า controlled response
ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า rapid ventricular response
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers,amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
ประเภทของ AF
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า (Electrical Cardioversion)
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
(open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
การเกิดลิ่มเลือด
ทำให้เกิด pulmonary embolus
ทำให้เกิดstroke เป็นอัมพาตหรืออัมพฤกษ์
เป้าหมายในการรักษา
ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ และจังหวะให้กลับไปสู่ sinus rhythm
ให้ยา Anticoagulation เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาทีซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex ไม่เป็นรูปแบบเดียว
ความหมาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ
ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ150-250 ครั้ง/นาที
ลักษณะ ECG ไม่พบ P wave ลักษณะ QRS complex รูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
VT อาจ
เปลี่ยนเป็น VF ได้ในทันทีและท าให้เสียชีวิต
อาการและอาการแสดง
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
ถูกไฟฟ้าดูด
พิษจากยาดิจิทัลลิส
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
การพยาบาล
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ท าการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำพื่อให้ยาและสารน้ำ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
สาเหตุ
อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุที่ทำให้เกิด VF และ Pulseless VT
Hypothermia
Tension pneumothorax
Hyperkalemia
Cardiac tamponade
Hypokalemia
Toxins
Hydrogen ion (acidosis)
Pulmonary thrombosis
Hypoxia
Coronary thrombosis
Hypovolemia
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที
สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
ความหมาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ
ลักษณะ ECG จะไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขผู้ป่วยจะหัวใจหยุดเต้นทันที
ระบุไม่ได้ว่าส่วนไหนเป็น QRS complex
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีคือ หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลในผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจหรือไม่ ถ้าพบให้รายงานแพทย์ทันที
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
จำนวนปัสสาวะลดลง
ความดันโลหิตลดลง
สีของผิวหนังเขียว อุณหภูมิของผิวหนังเย็นลง
capillary refill time นาน
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา ถ้า SpO2 น้อยกว่า 93%
ผู้ป่วยที่เป็น Stroke หรือ Acute MI
ระดับ SpO2 ต้องอยู่ระหว่าง 90-94% จึงจะปลอดภัย
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการมีคาร์บอนไดออกไชด์คั่ง
อยู่ระหว่าง 88-92%
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดไม่รุนแรง
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง
Hypertensive crisis
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำห้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ทำให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่
น้ำท่วมปอด
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า
ความหมาย
ความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล SBP>140 mmHg DBP>90 mmHg ในผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป
Target organ damage (TOD) ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง ได้แก่ สมอง หัวใจ ไต ตา
Hypertensive urgency คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
Cardiovascular disease (CVD) หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และ Kidney failure เมื่อเกิดแล้วเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง
hypertensive crisis หรือ malignant hypertension Hypertensive emergency อาจเกิด
ในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงมาก่อน
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
การซักประวัติ
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การสูบบุหรี่
โรคอื่นๆ เช่น เช่น coarctation ของ aorta, renal artery stenosis, โรคของต่อมหมวกไต และโรคไทรอยด์เป็นพิษ เป็นต้น
ความสม่่ำเสมอในการรับประทานยาผลข้างเคียงของยาที่ใช้
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีอาการ เจ็บหน้าอก (chest pain) เหนื่อยง่ายแน่นอกเวลาออกแรง
โรคความดันโลหิตสูง
ไตวายเฉียบพลัน
ปริมาณปัสสาวะลดลง หรืออาจไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
ตรวจจอประสาทตา
พบ Papilledema
ตรวจ retina
cotton-wool spots and hemorrhages
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ หมดสติ
Chest pain
บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
ไตถูกทำลาย
oliguria or azotemia
สงสัยมีภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
ให้คลำชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง
จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน เรียกว่า pseudohypotension
แขนข้างที่มี intimal flap ที่ไปอุดหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงแขนข้างนั้น
น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และchest X-ray
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
เอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การรักษา
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา มีผลข้างเคียงต่อตับและไตน้อย ขั้นตอนการเตรียมสะดวก รวดเร็ว
ได้แก่ กลุ่ม vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker,
angiotensin-converting enzyme inhibito
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจากระดับเดิม
20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาที่มีใช้ในประเทศไทย เช่น sodium nitroprusside,
nicardipine, nitroglycerin, labetalol ยา sodium nitroprusside
ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของตับและไตบกพร่อง
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดหยดเข้าหลอดเลือดดำ
ยาชนิดออกฤทธิ์สั้นไม่แนะนำให้ใช้ยา Nifedipine ทั้งทางปากและบีบใส่ใต้ลิ้น
การพยาบาล
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agent
ได้แก่ sodium nitroprusside
ขนาดยาสูงสุดให้ไม่เกิน 10 mcg/kg/min
ผสมยาใน D5W และ NSS หลังจากผสมแล้วยาคงตัว 24ชั่วโมง
เริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาที
เก็บยาให้พ้นแสงและตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น้ำตาล น้ำเงินห้ามใช้ยา
ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำอย่างรวดเร็ว , หัวใจเต้นช้า, ภาวะกรด , หลอดเลือดดำอักเสบ , cyanide toxicity
cyanide toxicity จะมีอาการ หัวใจเต้นเต็ว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง หายใจตื้นเร็ว มีภาวะกรด ชัก และหมดสติ
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต และเหตุผลที่ต้องติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝ้าระวังต่างๆ
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยา
ติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
ไม่ควรลด SBP ลงมาต่่ำกว่า 120
mmHg DBP คือ 70-79 mmHg
ผู้ป่วยที่มีสมองขาดเลือดร่วมกับความดันโลหิตสูงวิกฤต
ต่ำกว่า 180/105 มม.
ปรอทใน 24 ชั่วโมงแรก แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าความดันโลหิตเริ่มต้น
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน ระดับความรู้สึกตัวลดลง(Time, place, person) สับสน ตรวจขนาดรูม่านตาและปฏิกิริยาต่อแสง
ก าลังและการเคลื่อนไหวของแขนขา การพูด การตอบสนองต่อค าสั่ง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ได้แก่ ชีพจร capillary refill อุณหภูมิของผิวหนัง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
ปริมาณปัสสาวะสมดุลกับสารน้ าที่รับเข้าร่างกาย ค่า BUN Cr ปกติ
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
การจัดท่านอนให้สุขสบาย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เช่น ปิดไฟหัวเตียง เพื่อส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
Neurologic symptoms ได้แก่ สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke
Cardiac symptoms ได้แก่ aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias.
Acute kidney failure อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นทันที BUN Cr จะมีค่าขึ้นสูงได
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
พร่องความรู้
Acute Heart Failure (AHF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
2) Transient: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ เช่น เกิดขณะมีภาวะหัวใจขาดเลือด
3) Chronic: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ (Stable) หรือ อาการมากขึ้น (Worseningหรือ Decompensation)
1) New onset: หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก โดยอาจเป็นแบบเฉียบพลัน (Acute onset) หรือเกิดขึ้นช้า(Slow onset)
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
1) Left sided-heart failure: อาการแสดงที่เกิดจากปัญหาของหัวใจห้องล่างซ้าย หรือห้องบนซ้าย
เช่น Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
2) Right sided-heart failure: อาการแสดงที่เกิดจากปัญหาของหัวใจห้องล่างขวา หรือ ห้องบนขวา
เช่น อาการบวม ตับโต
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
1) High-output heart failure: ภาวะที่อาการและอาการแสดงของ หัวใจล้มเหลวเกิดจากการที่ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ
เช่น ผู้ป่วย ไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1 (Beri Beri heart disease) เป็นต้น
2) Low-output heart failure: คือ ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง จนเกิดภาวะหัวใจล้มภาวะหัวใจล้มเหลวสามารถแบ่งได้หลายชนิด
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
ผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อนได้แก่ ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เป็นต้น
ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวมาก่อนแต่มีอาการเลวลง
อาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
พบได้ในผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะ
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได้
แต่ในขณะที่ทำการวินิจฉัยผู้ป่วยมีอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวและ/หรือมีการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจคงอยู่เป็นเวลานานถ้าผู้ป่วยมีอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวมาระยะเวลาหนึ่ง
กรณีที่มีอาการคงที่จะจัดอยู่ในกลุ่ม Stable chronic heart failure
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
2) Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF (HFPEF): หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ ใช้ค่า LVEF มากกว่าร้อยละ 40-50
โดยทั่วไปมักเรียกว่า
Heart failure with preserved ejection fraction (HFPEF) หรือ Heart failure with preserved
systolic function (HFPSF)
1) Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF (HFREF) : หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่าง (Left ventricle) ลดลง โดยทั่วไปใช้ค่า Left ventricular ejection fraction (LVEF) ต่ำกว่าร้อยละ 40
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
เกิดจากการคั่งของเลือดในหัวใจห้องขวา ทำให้หลอดเลือดดำที่คอโป่ง ตับโต จุกแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ และบวม
เกิดจากการคั่งของเลือด ในหัวใจห้องซ้าย และปอด เรียกว่า Pulmonary venouscongestion ทำให้เกิดอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
อ่อนเพลีย (Fatigue) เนื่องจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลงทำให้สมรรถภาพของร่างกายลดลง
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ (Hepatic congestion) มีน้ำในช่องท้อง (Ascites) อาจพบอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารร่วมด้วย
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (Dependent part) เช่นเท้า ขา เป็นลักษณะบวม
กดบุ๋ม
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
อาการเหนื่อย หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ (Orthopnea
อาการหายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้นเนื่องจากอาการหายใจไม่สะดวก
(Paroxysmal nocturnal dyspnea, PND) PND
อาการเหนื่อยขณะที่ออกแรง (Dyspnea on exertion)
สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocardial disease) เช่น หัวใจ ห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลง (Left ventricular systolic dysfunction) หรือกล้ามเนื้อหัวใจหนา (Hypertrophic cardiomyopathy)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ เช่น เยื่อหุ้มหัวใจหนาบีบรัดหัวใจ (Constrictive pericarditis)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease) เช่น ลิ้นหัวใจตีบหรือลิ้นหัวใจรั่ว
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease) เช่น Myocardial ischemia induced heart failure เนื่องจากการรักษาในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวจากสาเหตุต่างๆ มีความแตกต่างกัน เช่น การผ่าตัดแก้ไขในกรณีที่เกิดจากลิ้นหัวใจตีบหรือลิ้นหัวใจรั่ว
ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น ผนังกั้น ห้องหัวใจรั่ว (Atrial septaldefect หรือ Ventricular septal defect)
อาการแสดงที่ตรวจพบบ่อย
เสียงหัวใจผิดปกติโดยอาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation) จากการที่มีเลือดคั่งในปอด (Pulmonary congestion) อาจมีเสียงหายใจ Wheezing หรือ อาจตรวจพบเสียงหายใจลดลง
หัวใจโต
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำในช่องท้อง (Ascites)
เส้นเลือดดำ ที่คอโป่งพอง (Jugular vein distention)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
การวินิจฉัย
2) คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography)
3) การตรวจเลือด
4) การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
1) การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray, CXR)
แนวทางเวชปฏิบัติ
ควรติดตามค่าการทำงานของไต (BUN, creatinine) ีรั่มโซเดียมและซีรั่มโพแทสเซียมทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง ในผู้ป่วยได้รับ Intravenous loop diuretics หรือการรักษาบรรเทาภาวะน้ำคั่งในผู้ป่วยวิกฤติด้วยวิธีอื่นดังข้อ 3
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotropes) เช่น Dobutamine หรือ Milrinone ในกรณี Refractory heart failure ซึ่งมีภาวะน้ำคั่งและร่วมกับภาวะดังต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งข้อ
6.3 มีหลักฐานของ End-organ hypoperfusion เช่นความรู้สึกตัวลดลงมือเท้าเย็นหรือมีการ
ทำงานของไตเสื่อมลงเป็นต้น
6.4 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาขับปัสสาวะชนิด Loop diuretic ทางหลอดเลือดดำหรือยา
ขยายหลอดเลือด (Vasodilator)
6.2 ความดันซิสโตลิกต่ำกว่า 85 มิลลิเมตรปรอทและมีอาการหรืออาการแสดงจากความดัน
โลหิตต่ำ
6.5 ควรติดตามความดันโลหิตและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างใกล้ชิดขณะผู้ป่วยได้รับ Intravenous
inotropes
6.1 Cardiogenic shock
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวันอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine ในกรณีที่มี Pulmonary edema และ SBP>110 mmHg และไม่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกหรือไมทรัลตีบชนิดรุนแรงร่วม
8.1 ใช้ Sodium nitroprusside และไม่ควรใช้ Sodium nitroprusside ในผู้ป่วย Acute myocardial ischemia หรือผู้ป่วยที่มีทำงานของไตลดลง
8.2 ใช้Nitroglycerine โดยให้ติดตามความดันโลหิตและอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
3.บรรเทาภาวะคั่งน้ำ เมื่อใช้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ ชนิด Loop diuretic แล้วผู้ป่วยไม่ตอบสนอง
3.2 เพิ่มขนาดของยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
3.3 เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
3.1 ประเมินผู้ป่วยใหม่
3.4 เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง ได้แก่ Thiazide หรือ aldosterone antagonist,
low-dose dopamine (ขนาดต่ำกว่า 5 ไมโครกรัม / กิโลกรัม / นาที)
3.5 พิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด (Intravenous inotrope) หรือยาขยายหลอด
เลือด (Vasodilator)
3.6 เมื่อใช้แนวทางปฏิบัติข้างต้น (3.1-3.6) แล้วไม่ได้ผลให้พิจารณา Ultrafiltration
ไม่แนะนำให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotrope) ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกรายโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่ทราบ Left ventricular filling pressure
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic ได้แก่ Pulmonary congestion และหรือ Venous congestion
ไม่แนะนำให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย
ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันควรได้รับการประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจล้มเหลวตามและแก้ไขสาเหตุเหล่านั้นอย่างทันท่วงทีโดยเฉพาะความผิดปกติทางหัวใจ
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต (Right heart catheterization) และใช้ Invasive monitoring ในกรณีดังต่อไปนี้
10.2 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาดังกล่าวข้างต้น
10.3 เพื่อประเมินภาวะ Pulmonary hypertension ก่อนการปลูกถ่ายหัวใจหรือใส่ Mechanical circulatory Support device
10.1 มี SBP< 85 mmHg และ / หรือมี
ภาวะการทำงานของไตเสื่อมโดยไม่สามารถประเมิน Left ventricular filing pressure ได้ชัดเจน
ให้ Tolvaptan (V2-receptor antagonist) ในระยะเวลาสั้น (ไม่เกิน 1-2 สัปดาห์) ในผู้ป่วยซึ่งมีภาวะ
คั่งน้ำและภาวะซีรั่มโซเดียมต่ำซึ่งไม่ตอบสนองด้วยการรักษามาตรฐาน
ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Oxygen saturation < 90% หรือ pO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
แนะนำ Noninvasive ventilation เช่น Continuous positive airway pressure (CPAP) ผู้ป่วย Pulmonary edema ที่มีอัตราการหายใจมากกว่า 20 ครั้งต่อนาที ีโดยที่ผู้ป่วยยังมีความดันโลหิตมากกว่า85 มิลลิเมตรปรอทและมีการรับรู้ปกติเพื่อลดความลำบากของการหายใจ
ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน (Right heart catheterization) หรือใช้ Invasivemonitoring ในผู้ป่วยเป็น Routine ทุกราย
ควรยึดแนวทางปฏิบัติและคำแนะนำในการดูและรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD) ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อคแม้ได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานข้างต้นอย่างเต็มที่แล้ว
บทบาทพยาบาล เน้นดูแลผู้ป่วยโดยมีเป้าหมาย คือ
2) ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
3) ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
1) ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
4) ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position) หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง : ควรประเมินจนกว่าอาการจะปกติ
1) ฟังเสียงหัวใจทุก 2-4 ชั่วโมง
2) ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผล
2) ยาโดปามีน ทำ I/O ทุก 1 ชั่วโมง ประเมินอาการผิดปกติ เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ปัสสาวะออกน้อย ปลายมือปลายเท้าซีด หัวใจเต้นผิด จังหวะ ควรหยุดยาเเละ
รายงานเเพทย์ทันที
3) ยาไนโตรกลีเซอรีน ควรมีการติดตามความดันโลหิตเพราะอาจมีความดันโลหิตสูงขึ้นเกิดอาการปวดศีรษะได้บรรเทาอาการโดยใช้กระเป๋าน้ำแข็งประคบศีรษะ
4) ยากลุ่ม ACE inhibitor ลควรติดตามวัดความ
ดันโลหิต ทุก 1 ชั่วโมง ติดตามระดับ Creatinine ในเลือดเพื่อดูการทํางานของไตและมีการสังเกตอาการข้างเคียงท่ีเกิดจากยา เช่น อาการไอ
5) ยาขับปัสสาวะ ควรแนะนําผู้ป่วยในเรื่องการ เปลี่ยนอิริยาบทต่างๆ อย่างช้าๆ ส่งเสริมให้ผู้ป่วย รับประทานผลไม้ที่มีโปแตสเซียมสูง เช่น กล้วย ส้ม เป็นต้น บันทึกสารน้ำเข้า-ออกในร่างกาย ทุก 1-2 ชั่วโมง
1) ยาดิจิทาลิส ลควรมีการจับชีพจรก่อนให้ยาทุกครั้งหากมีชีพจรตํ่ากว่า 60 หรือมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีหรือมีการเต้นของชีพจรไม่สม่ำเสมอควรงดการให้ยา หลังให้ยา ควรเฝ้าระวังความเป็นของยาดิจิทาลิส ผู้ป่วยจะมีอาการ
N/V, เบื่อ อาหาร ตามัว มองเห็นเเสงไฟจากสีขาวเป็นสีเหลือง
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวายได้ดังนี
2) สอนและแนะนําเทคนิคการผ่อนคลายที่สอดคล้องกับความสนใจของผู้ป่วย
3) ควรกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ญาติ หรือบุคคลใกล้ชิดมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
1) กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกไม่สบายใจที่มีอยู่หรือความรู้สึกกลัว
4) มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาและการเปลี่ยนแปลงของ อาการที่เกิดขึ้นไปในทางที่ดี
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2) สอนให้สังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น เช่น สอนการนับและจับชีพจรในแต่ละวันและทําการบันทึกไว้เป็นระยะๆ
3) ยํ้าเน้นถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัดทุกครั้งตามแผนการรักษาของแพทย์จนกว่าจะควบคุมโรคได้และให้มีการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
1) ดูแลจัดการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเอง
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม จํากัดเกลือไม่เกิน 2 กรัม/วัน
พักผ่อนนอนหลับผู้ป่วยภาวะหัวใจวายควรนอนหลับอย่างน้อย 8-10 ชั่วโมง/วัน และควรหาเวลานอนพักหรืองีบในช่วงบ่ายและควรเข้านอนเร็วขึ้นการหนุนหมอนสูง และควรมีการฝึกเทคนิคการผ่อนคลาย
การทํากิจกรรมและการออกกําลังกาย 1-2 สัปดาห์แรกไม่หักโหมเกินไปออกกําลังกายเล็กน้อยถึง ปานกลางเพื่อป้องกันกล้ามเนื้อลีบและอ่อนแรง เช่น การหมุนข้อ เดิน ไทเก๊ก ช่ีกง ส่วนผู้ป่วยที่ยังมีอาการ เหนื่อยง่าย การทํางานต่างๆ ควรนั่งแทนการยืน
การมีเพศสัมพันธ์ ถ้าผู้ป่วยสามารถเดินขึ้น-ลงบันได 1 ชั้น (8-10 ขั้น) ได้โดยไม่มีอาการเหนื่อยหอบก็สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ อย่างปลอดภัย
Shock
หมายถึง ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ (Poor tissue perfusion) หากรักษา
ไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว (Organ failure) ตามมา
การแปลผลความดันโลหิต
Systolic blood pressure (SBP) เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจบีบตัว ถ้าค่า SBP ต่ำ แสดงว่า Systolic function ไม่ดี
Diastolic blood pressure (DBP) เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจคลายตัว ถ้าค่า DBP ต่ำ แสดงว่า Afterload ต่ำ
ความแตกต่างของ systolic blood pressure และ diastolic blood pressure เรียกว่า pulse
pressure
ค่า Pulse pressure ที่กว้าง บ่งบอกว่า Stroke
volume และ Cardiac output สูง
ส่วนค่า Pulse pressure ที่แคบ บ่งบอกว่า Stroke volume และ Cardiac
output ต่ำ
Mean arterial pressure (MAP) คำนวณได้จาก MAP = 1/3 SBP + 2/3 DBP
การแบ่งประเภทของช็อก
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
2) Cardiogenic shock
3) Obstructive shock
1) Hypovolemic shock
High cardiac output shock
3) Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis, thyroid storm
4) Neurogenic shock
2) Anaphylactic shock
5) Drug and toxin ได้แก่ ยาที่มีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดขยายตัว
1) Septic shock
6) อื่นๆ เช่น Post-resuscitation syndrome ทีตามหลัง Return of spontaneous circulation
(ROSC) จาก Cardiac arrest
Supportive treatment
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหตุของช็อกแต่ละประเภท
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction ควรทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
2) ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 0.9% NSS load จนครบ
3) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ Ceftriazone 2 gm Intravenous drip in 1 hr (Septic shock)
1) ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพอาการอาการแสดงของ Shock และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยทุก10 นาที
4) บันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออกเพื่อประเมินหน้าที่การทำงานของไตผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
2) ตรวจวัดความดันโลหิตและอัตราหัวใจเต้นทุก 10 นาที เมื่อ IV ครบ 1,000 ml ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจปกติ จึงค่อย Titrate Levophed เพิ่มทีละ 5 ml / hr. ร่วมกับให้สารน้ำจนครบ 1,500 ml
3) ประเมินผลความดันโลหิต อัตราหัวใจเต้น และไม่มีภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้น
1.โดยดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเข้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ตรง Antecubital vein โดยใช้ infusion pump
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
2) Observe O2 Saturation
3) ประเมินสัญญาณชีพ O2 Saturation ทุก 15 นาที
1) ดูแลส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดโดยจัดท่านอนและให้ออกซิเจน
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
1) เพื่อบรรเทาความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ โดยให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
2) ให้คำอธิบาย ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับภาวะโรคและแผนการรักษา
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
2) ประเมินภาวะไข้
1) ลดไข้และให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย โดยดูแลเช็ดตัวลดไข้
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
เลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง Central venous
catheter เนื่องจาก
การให้สารน้ำทาง Peripheral vein เมื่อให้ไประยะเวลาหนึ่งหลอดเลือดดำซึ่งเดิมมี Vasoconstriction
จะค่อยๆขยายตัว
1.สะดวกกว่าการให้สารน้ำทาง Central venous cathete
ควรใช้ขนาดเข็มที่ให้สารน้ำ No. 16 หรือ No. 18
สารน้ำที่ให้ทาง Peripheral vein จะใช้เวลานานกว่าไปถึงหัวใจ ทำให้สารน้ำที่ไปถึงหัวใจใกล้เคียงกับ Core temperature
การให้สารน้ำ (Fluid therapy) ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกมีประโยชน์ในการรักษาช็อกทุกประเภท
ยกเว้น Left-sided cardiogenic shock
สารน้ำ 2 ประเภท
Crystalloids
คือ Normal saline, Ringer's lactate solution, Ringer's acetate solution
มีข้อพึงระวัง
ดังนี้
Volume overload เกิดจากการให้สารน้ำที่เร็วจนเกินไป ในขณะที่ผู้ป่วยไม่มี Concurrent loss หรือ Continuous leakage แล้ว
Hypernatremia เนื่องจาก Saline มี Na 154 mEq/L ในขณะที่ plasma มี Na 135-145 mEq/L
Hyperchlorermic metabolic acidosis (Normal anion gap metabolic acidosis) มักเกิดจากการให้ Saline เป็นจำนวนมากในการ Resuscitate
การให้ Ringer's lactate solution มีข้อควรระวังดังนี้
Volume overload เกิดจากการให้สารน้ำที่เร็วจนเกินไป ในขณะที่ผู้ป่วยไม่มี Concurrent loss หรือ Continuous leakage แล้ว
Lactic acidosis โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคตับ เ
Hyperkalemia เนื่องจาก RLS มี K+ 4 / L ซึ่งต้องมีความระมัดระวังในผู้ป่วยที่ปัสสาวะไม่ออกหรือมีแนวโน้มว่า Potassium ในเลือดสูง
Hypercalcemia
Colloids
ผลข้างเคียง
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity อาจทำให้เกิด Acute kidney injury
Coagulopathy/platelet dysfunction
Fluid therapy
ประโยชน์
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Hypovolemic shock
Distributive shock (High cardiac output shock)
Vasoactive drug
Hypovolemic shock โดยทั่วไปไม่มีที่ใช้ของ Vasoactive drugs
Cardiogenic shock ในขณะที่ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ ควรเลือกใช้ Dopamine
Obstructive shock ควรให้สารน้ำก่อน
Septic shock ควรให้สารน้ำก่อน ถ้าให้สารน้ำเพียงพอแล้วความดันโลหิตยังไม่ขึ้น อาจให้ Dopamineหรือ Norepinephrine
Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis และ Thyroid storm ควรให้สารน้ำและให้การรักษาทดแทนทางฮอร์โมน หรือให้ยาต้านธัยรอยด์
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
Neurogenic shock เลือก Dopamine ก่อน
ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า
60 ครั้งต่อนาที ให้เตรียมอุปกรณ์สำหรับใส่ temporary pacing