Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว Bipolar disorder, นางสาวยุพเรศ บุญคงแก้ว…
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว
Bipolar disorder
เป็นความผิดปกติทางอารมณ์อย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงที่อารมณ์ดีมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania)
Bipolar I disorder คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้าหรืออาจมีอาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้
Bipolar II disorder คือ มีอาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (hypomania)
สาเหตุ
ปัจจัยทางจิตสังคม
ผู้ป่วยรู้สึกเบื่อ ไม่มีสมาธิ ไม่อยากคุยกับใคร รู้สึกว่าตนเองไม่มีค่า
ปัจจัยทางพันธุศาสตร์
สามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็น bipolar
ปัจจัยทางชีวภาพ
Noradrenaline เกี่ยวข้องกับอารมณ์และการ
ตอบสนองต่อความเครียด
Serotonin ควบคุมการรับรู้ความรู้สึกและการทํางานของสมองสั่งการ เช่น การนอนหลับ
Dopamine เป็นสารที่ควบคุมอารมณ์ความรู้สึก
การดำเนินโรค
ส่วนใหญ่มีอาการทางอารมณ์เป็ นช่วงๆ (episodic pattern) ได้แก่ ช่วงอารมณ์ซึมเศร้า(depressive episode) หรือช่วงอารมณ์ครึกครื้น(manic หรือ hypomanic episode) โดยแต่ละช่วงของอาการมักเป็นนาน 1-6 เดือน
อาการและอาการแสดง
อาการคึก (Mania and Hypomania) อาการคึกรุนแรง (Mania) และคึกน้อยๆ (Hypomania)
อาการเศร้า (Depress) อารมณ์เศร้านั้นมักทําให้เกิดความเสียหายหรือลําบากต่อการดําเนินชีวิตปกติ
การวินิจฉัย
กลุ่มโรคอารมณ์สองขั้ว (bipolar and related disorders)
กลุ่มโรคซึมเศร้า (depressive disorders)
โรคที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่
bipolar II disorder
cyclothymic disorder
bipolar I disorder
substance/ medication- induced bipolar and related disorders
bipolar and related disorder due to another medical condition
other specified bipolar and related disorders
unspecified bipolar and related disorders
ผู้ป่วย bipolar II disorder มักมีอาการรุนแรงน้อยกว่าผู้ป่วย bipolar I disorder ในการวินิจฉัย
ผู้ป่วยจะต้องมี hypomanic episode และ major depressive episode เป็นอาการสําคัญ การดําเนินโรคระยะยาว
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาควบคุมอารมณ์ ปัจจุบันมี 2 กลุ่มคือ Lithium
carbonate และยาต้านอาการกันชัก (Anticonvulsant drugs)
ยาต้านโรคจิต ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
atypical Antipsychotics และAtypical Antipsychotics
ยาต้านเศร้า
การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy or ECT) ในรายที่ซึมเศร้ารุนแรง
การบําบัดรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu therapy) ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดการยอมรับในตนเอง ฝึกการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
จิตบําบัด (Psychotherapy) โดยให้ผู้ป่วยตระหนักรู้ความแปรปรวนทางอารมณ์
ปัญญาพฤติกรรมบําบัด (Cognitive behavioral therapy) ช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิดด้านลบ โดยพยายามฝึกคิดเกี่ยวกับตนเองในด้านดีตามความเป็นจริง
การบําบัดรักษาทางเลือก (Complementary and Alternative therapy) เป็นการรักษาโดยธรรมชาติ เช่น ออกกำลังกาย การนวด
การพยาบาล
Honesty (ความซื่อสัตย์จริงใจ)
ผู้ป่วยที่มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองตํ่าจะทนต่อความผิดหวังได้น้อย
Empathy (ความเข้าอกเข้าใจ)
Acceptance (การยอมรับ)
พยาบาลต้องเข้าใจและยอมร้บว่าผู้ป่วยซึมเศร้ามักจะเก็บกดไม่แสดงอารมณ์ออกมาหรือมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองตํ่า
Patience (ความอดทน)
ผู้ป่วยซึมเศร้าจะไม่สามารถตัดสินใจได้แม้ในเรื่องเล็กน้อย ส่วนผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมแมนเนียจะแสดงความหงุดหงิด
นางสาวยุพเรศ บุญคงแก้ว 612601050