Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, image, image, image - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion ไม่ผิดปกติทางสมอง
Secondary febrile convulsion มีความผิดปกติทางสมอง
การรักษา
มีอาการชัก
เกิน5นาที ต้องทำให้หยุดชักโดยเร็วที่สุด
ให้ยาลดไข้
หลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2
ปี
โรคลมชัก
แบ่งเป็น
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsyไม่มีความผิดปกติ
Secondary generalized epilepsyมีความผิดปกติที่ประสาท
สาเหตุ
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
โรคติดเชื้อของสมอง
Metabolic และ Toxic etiologies
รอยโรคในสมอง
Developmental and degenerative disorders
การรักษา
โดยยาระงับชัก
รักษาตามสาเหตุ
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำ
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนาน อย่างน้อย 2 ปี
มาตรวจตามนัด
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Cerebrospinal fluid test
Pressure เด็กโต = 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
Red cells ไม่พบ
White cell count ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl
Protein 14-45 mg/dl
อาการและอาการแสดง
คอแข็ง
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
สมองอักเสบ
อาการ
คอแข็ง
ซึมลง
ชัก
กระสับกระส่าย
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน
ให้ยาระงับชัก
รักษาสมดุลน้ำเข้าออก
โรคไข้สมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
ในรายที่เป็นรุนแรงมากจะถึงแก่กรรมประมาณวันที่ 7-9
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือด
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง
ห้ามผูกมัด
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ขณะชักให้NPO
เตรียมไม้กดลิ้น
ถ้ามีไข้สูงให้ใช้น้ำธรรมดาเช็ดตัว
ดูแลให้ได้รับยากันชัก
ช่วยแพทย์เตรียมส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
สังเกตและจดบันทึกการชัก
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ
โรคสมองพิการ
คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด
มารดามีภาวะชักหรือมีภาวะปัญญาอ่อน
มารดาขณะตั้งครรภ์มีการใช้ยาบางชนิด
การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วง
ระหว่างการตั้งครรภ์เดือนที่6-9
ระยะคลอด
สมองขาดออกซิเจน
ระยะหลังคลอด
การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ
อาการและอาการแสดง
่อ่อนปวกเปียก
หายใจช้า
พูดไม่ชัดเจน
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
ทำกายภาพบำบัด
การให้ early stimulation
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึกพัฒนาการ
Hydrocephalus
เกิดการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
สร้างน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
เกิดการอุดกั้น
ความผิดปกติในการดูดซึม
อาการและอาการแสดง
ศีรษะโต
กระหม่อมหน้าโป่งตึง
หนังศีรษะบาง
ตาทั้งสองกรอกลงล่าง
ตาพร่ามัว
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การเจริญเติบโช้า
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจาก
การคั่งของน้ำไขสันหลัง
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
จัดให้นอนบนที่นอนนุ่มๆ
เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดผิวหนัง
จัดปูที่นอนให้เรียบตึง
ตรวจสอบแผลกดทับ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
เพิ่มการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
Ventriculo-peritoneal Shunt
ปัญหาแทรกซ้อนของการผ่าตัดใส่ Shunt
Obstruction
Infection
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
Spina bifida
การวินิจฉัย
พบ Alphafetoprotienในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาลอาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
จัดท่านอนตะแคง
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื้น
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด
ประเมินการติดเชื้อ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียด
เส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขา
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
ตรวจสอบสัญญาณชีพ อาจทุก 2-4 hr
เฝ้าระวังและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวันเพื่อประเมินภาวะHydrocephalus
บริหารแขนขา/ เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
Down’s syndrome
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หัวแบนกว้าง
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ
brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่า
ทางเดินอาหารอุดตัน
Hypothyroidism
Hypothyroidism
อวัยวะเพศของผู้ชายอาจเล็กกว่าปกติ
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตาม
วัยตั้งแต่อายุยังน้อย
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Guillain Barre ‘s Syndrome
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
Sensation
อาการเหน็บชา
motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการของประสาทสมอง
มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การเต้นหัวใจผิดจังหวะ ความดันโลหิตไม่คงที่ หัวใจเต้นช้าหรือเร็ว หน้าแดง เหงื่อออก ปัสสาวะคั่ง
การรักษา
การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
Check vital sign โดยเฉพาะ RR
ให้ออกซิเจน
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ