Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fetal distress, :warning: ข้อห้าม, ปากมดลูกไม่เปิด, ส่วนนำอยู่สูง,…
Fetal distress
การพยาบาล
- สังเกต และบันทึกลักษณะการเต้นของหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด เพื่อประเมินภาวะ Fetal asphyxia
- บันทึกลักษณะการเต้นของหัวใจทารกที่ผิดปกติอย่างต่อเนื่อง
- ดูแลมารดาให้ได้รับสารน้ าอย่างเพียงพอ
-
- ให้ออกซิเจนแก่มารดา 6 – 10 ลิตร/นาที
-
- เปิดโอกาสให้มารดาระบายถึงสิ่งที่กลัวหรือวิตกกังวล
- ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพทารกในครรภ์ เช่น เสียงหัวใจทารกฟังได้สม่ำเสมอ ชัดเจนดี
-
- ให้ข้อมูลด้วยความเต็มใจ ใช้น้ำเสียงที่นุ่มนวล และท่าทีที่สงบ
การรักษา
- เปลี่ยนท่านอนของมารดา เพราะอาจช่วยให้สายสะดือที่ถูกกดทับหลุดออก
- ให้ Oxygen mask ในปริมาณ 6 – 10 ลิตร / นาที เพื่อช่วยลดภาวะ Fetal asphyxia
- บันทึกการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่อง Monitor ตลอดเวลา
- ในกรณีที่มารดาได้รับ Oxygocin ควรหยุดการให้ทันที
- เจาะ Fetal scalp blood sampling เพื่อประเมินภาวะ Acidosis
- รีบทำคลอดตามความเหมาะสม ถ้าปากมดลูกเปิดเต็มที่และสามารถคลอดผ่านทางช่องคลอดได้ควรช่วยคลอดโดยการใช้ Forceps or Vacaum extraction หรือในรายที่ทารกอยู่ในท่าก้น ควรช่วยคลอดโดยการทำ Breech extraction
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีความดันโลหิตต่ำ หรือช๊อคจากโรคหัวใจ มีภาวะซีด เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ประสบกับภาวะทุพโภชนาการ หรือมีการขาดน้ำ ร่างกายมารดามีภาวะเป็นกรด และมารดามีความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าอย่างรวดเร็ว
ด้านมดลูก
มดลูกมีการหดรัดตัวที่รุนแรงมากผิดปกติ หรือเกิดจากการเสื่อมสภาพของหลอดเลือดบริเวณมดลูก (Vascular degeneration)
-
-
-
พยาธิสรีรวิทยา
- ระบบปฏิกิริยาสะท้อนกลับ และปฏิกิริยาตอบสนองโดยตรงของประสาทอัตโนมัติ(Reflex and direct activity of autonomic nervous system)
- ปริมาณของออกซิเจนที่แลกเปลี่ยนในระบบหัวใจและหลอดเลือด
- แรงกดดันที่กระท าต่อศีรษะทารกในระหว่างคลอด จะกระตุ้น Vagus nerve ทำให้หัวใจทารกเต้นช้าลง
- การกดทับของสายสะดือ เป็นเหตุของ Mild hypoxia ทำให้หัวใจเต้นช้าลงในระยะแรก
อาการและอาการแสดง
-
-
-
ทารกในครรภ์ดิ้นอย่างรุนแรงและมากขึ้น แสดงถึงภาวะ Acute fetal distress
แต่ต่อมาทารกในครรภ์เริ่มดิ้นน้อยลง แสดงว่าเกิดภาวะ Chronic fetal distress
การวินิจฉัย
-
การสังเกตลักษณะของน้ำคร่ำ ถ้ามีขี้เทาปนออกมาจะสังเกตเห็นว่า น้ำคร่ำมีสีเขียว บางครั้งจะมีลักษณะข้น แสดงว่าทารกมีภาวะ Asphyxia มาก
-
-
ผลกระทบ
มารดา
การเต้นของหัวใจที่ผิดปกติของทารกจะเพิ่มความเครียดและความวิตกกังวลให้กับมารดา จึงนับได้ว่าก่อให้เกิดปัญหาด้านจิตสังคมในระยะคลอดที่มารดาอาจจะต้องเผชิญ
ทารก
การได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเป็นเวลานาน จะนำไปสู่การเกิดความพิการของสมองหรือมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ หรือเป็นเด็กปัญญาก่อนในเวลาต่อมา
-
-
-
-
- ไม่สามารถบอกส่วนนำได้อย่างแน่นอน
- ส่วนนำของทารกเป็นหน้า หรือกระหม่อม หรืออัณฑะ
-