Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
Target organ damage (TOD
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
ภาวะโปรตีนขับออกมากับปัสสาวะ (microalbuminuria)
โรคไตเรื้อรังในระดับปานกลางถึงรุนแรง
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่ยังไม่มีอาการ และHypertensive retinopathy ที่รุนแรงจะมี exudates หรือเลือดออก
Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และ Kidney failure
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
โรคประจำตัว
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงของยาที่ใช
การสูบบุหรี่
TOD
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
ตรวจจอประสาทตา
ตรวจ retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages
Chest pain
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ตรวจการทำงานของไต
การรักษา
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
sodium nitroprusside
nicardipine
nitroglycerin
labetalol
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
Neurologic symptoms
Cardiac symptoms
Acute kidney failure
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
sodium nitroprusside
ให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาท
จนสามารถคุมความดันโลหิตได้
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF) คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF
Persistent AF
Permanent AF
Recurrent AF
Lone AF
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจ
อักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
digoxin
beta-blocker
calcium channel blockers
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
Radiofrequency Ablation
ไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
Nonsustained VT
Sustained VT
Monomorphic VT
Polymorphic VT
สาเหตุ
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
โรคหัวใจรูห์มาติก
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
Digitalis toxicity
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
เปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสาร
น้ำ
ประเมินสัญญาณชีพ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้
Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำ
การช็อกไฟฟ้าหัวใจ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีคือ หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที
การรักษา VF และ
Pulseless VT
การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
Heart failure
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset
Transient
Chronic
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure
Diastolic heart failure
Heart failure with preserved ejection fraction
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure
Orthopnea
Right sided-heart failure
อาการบวม ตับโต
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
Low-output heart failure
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
Acute heart failure
Chronic heart failure
สาเหตุ
Congenital heart disease
Valvular heart disease
Myocardial disease
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
coronary artery disease
อาการและอาการแสดง
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด
การวินิจฉัย
(Chest X-ray, CXR)
(electrocardiography)
การตรวจเลือด
Complete blood count (CBC)
Renal function
Liver function test
Echocardiography
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วย
การประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ
ล้มเหลวตามและแก้ไขสาเหตุเหล่านั้นอย่างทันท่วงที
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
ผู้ป่วยไม่ตอบสนองหรือไม่สามารถ
บรรเทาภาวะคั่งน้ำ
ประเมินผู้ป่วยใหม่
เพิ่มขนาดของยาขับปัสสาวะ
Continuous infusion
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง ได้แก่ Thiazide
พิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด
ไม่ได้ผลให้พิจารณา Ultrafiltration
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวัน
ควรติดตามค่าการทำงานของไต
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
ไม่แนะนำให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotrope) ในผู้ป่วย Acute heart failure
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine
ให้ Tolvaptan ในระยะเวลาสั้น
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต
ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน
ให้ Oxygen supplement น้อย
กว่าร้อยละ 90
ไม่แนะนำให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย
แนะนำ Noninvasive ventilation ผู้ป่วย Pulmonary edema
พิิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD) ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อค
ควรยึดแนวทางปฏิบัติและคำแนะนำในการดูและรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ
การแบ่งประเภทของช็อก (Classification of shock)
Hypodynamic shock
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Obstructive shock
High cardiac output shock
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Drug and toxin
Supportive treatment
Airway
ควรทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing
ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation
พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock
Vasoactive drug
เพิ่มการทำงานของหัวใจ และเพิ่มความต้านทานของหลอดเลือด
Positive inotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้การบีบตัวของหัวใจ
Positive chronotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจ
Vasopressor effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้ความต้นทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
การเลือกใช้ Vasoactive drugs
Hypovolemic shock โดยทั่วไปไม่มีที่ใช้ของ Vasoactive drugs
Cardiogenic shock ในขณะที่ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ ควรเลือกใช้ Dopamine
Systolic BP ต่ำกว่า 70 มม. ปรอท อาจเลือก Norepinephrine ได้
Obstructive shock ควรให้สารน้ำก่อน
Dopamine
Norepinephrine
Septic shock ควรให้สารน้ำก่อน
ควรเลือก Norepinephrine ก่อน
Dopamine ถือเป็นข้อยกเว้นในผู้ป่วยที่
มีปัญหา Cardiac contractility
Endocrinologic shock
ควรให้สารน้ำและให้การรักษา
ทดแทนทางฮอร์โมน
Anaphylactic shock
Epinephrine
Neurogenic shock
Dopamine