Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1 เลขที่4…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ทารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนัก
LBW infant
ทารกมีน้ำหนักต่ำกว่า2,500 กรัม
Very low brith weight ต่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight ต่ำกว่า 1,000 กรัม
NBM infant
น้ำหนักแรกเกิดทารก 2,500 ถึงประมาณ 3,800-4,000
ประมาณร้อยละ 60 ของทารกที่ตายใน 28 วันแรก คือทารกที่น้ำหนักต่ำกว่า2,500 กรัม
จำแนกตามอายุครรภ์ (WHO)
ทารกเกิดก่อนกำหนด
น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ทารกครบกำหนด
มากกว่า 37-41 สัปดาห์
ทารกเกินกำหนด
มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุปัจจัยส่งเสริม
มารดามีภาวะแทรกซ้อน ความดันสูง รกลอกก่อนกำหนด การแท้งคุกคาม
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
ฐานะไม่ดี
อายุน้อยกว่า 16 หรือมากว่า 35
ลักษณะ
น้ำหนักน้อย รูปร่างเล็ก กะโหลกศีรษะนุ่ม เปลือกตาบวมนูนเปิดตลอด หูอ่อนนิ่ม
ผิวบางสีแดงเหี่ยวย่น เห็นเส้นเลือดใต้ผิว ไขมันคลุมตัวน้อย ผมน้อย
ลายมือมีน้อย เล็บนิ่มและสั้น
กล้ามเนื้อ ไขมันใต้ผิวหนังน้อย กระดูกซี่โครงอ่อนนิ่ม หายใจเข้าอาจถูกดึงรั้ง
หายใจไม่สม่ำเสมอ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
เสียงร้องเบา
หัวนมเล็ก
ท้องป่อง
อวัยวะเพศยังไม่สมบูรณ์
ปัญหาที่พบ
การควบคุมอุณหภูมิ
Hypothemia < 36.5 ํC
ภาวะอุณหภูมิต่ำ
อุณหภูมิแกนกลางของทารก < 36.5 ํC วัดทางทวารหนัก
อาการอาการแสดง
ใบหน้าแดง ผิวหนังแดง เขียวคล้ำ หายใจลำบาก ปลายมือ-เท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำตาบในเลือดต่ำ เลือดเป็นกรด น้ำหนักไม่ขึ้น เลือดออกในโพรงสมอง ไตวาย DIC และPPHN
การวัดอุณหภูมิ
ทางทวารหนัก
เกิดก่อนกำหนด
3 นาที ลึก 2.5ซม.
ครบกำหนด
3 นาที ลึก 3 ซม.
ทางรักแร้
ก่อนกำหนด
5 นาที
ครบกำหนด
8 นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในอุณหภูมิเหมาะสม (NTE) 32-34ํC
วัดอุณหภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2ํC
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง cold stress
ทารกที่อยู่ในตู้อบ
การพยาบาล
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น ให้การพยาบาลโดยช่องหน้าต่าง
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.และปรับให้เหมาะกับสภาพทารก
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิ
เป้าหมายอุณหภูมิปกติคือ 37 ± 0.2 ํC
กรณีอยู่ในตู้ปรับอุณหภูมิอัตโนมัต
ปรับอุณหภูมิเริ่มที่ 36 ํC
ปรับอุณหภูมิขึ้นครั้งละ 0.2 ํC ทุก 15-30 นาที (max 38 ํC)
ลดการสูญเสียความร้อน ครอบพลาสติกที่ตัวทารก
กรณีไม่ใช้ตู้อบผนัง 2 ชั้น
สวมหมวกไหมพรมหรือหมวกหนา พันร่างกายด้วย plastic warp
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้ 36.8 ํC- 37.2 ํC 2 ครั้งกัน ให้ปรับอุณหภูมิตู้อบ Neutral thermal environment (NTE) และติดตามอุณหภูมิกายทุก 15-30 นาทีอีก 2 ครั้งและทุก 4 ชม.
ใส่ปรอทสำหรับวัดอุณหภูมิตู้อบ
กรณีทารกอยู่ในตู้ปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ Skin servocontrol mode
4 more items...
เพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะขาดน้ำ
น้ำหนักลด
ภาวะลำไส้เน่า
ภาวะหยุดหายใจ
ภาวะเลือดออก
อัตราการตายเพิ่มขึ้น
ระบบทางเดินหายใจและพิษออกซเจน
Perinatal asphyxia
No asphyxia คะแนนแอพการ์ 8-10
Mild asphyxis คะแนนแอพการ์ 5-7
Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์ 3-4
Severe asphyxia คะแนนแอพการ์ 0-2
Respiratory Distress Syndrome (RDS)
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก ปีกจมูกบาน หายใจมีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อ หายใจมีเสียงGrunting
อาการเขียว
ภาพถ่ายรังสีที่ปอด ลักษณะ ground glass appearance
เลือดเป็นกรด
อาจมีอันตรายหัวใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชม.แรกเกิด
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสียงจะคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำร่ำยังไม่แตก โดยเฉพาะอายุครรภ์ 24-34 สัปดาห์ ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม.ก่อนคลอดเพื่อกระตุ้นให้ปอดสร้างสารลดแรงตึงผิว
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
การรักษา
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้น และอัตราไหลของออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิว
รักษาประคับประคองตามอาการ
ให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
รักษาสมดุลอิเล็กดทรไลต์
รักษาความเข้มข้นเม็ดเลือดแดง
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยการติดเชื้อ
ทารกบางรายจำเป็นต้องปิด PDA
Apnea of prematurity หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาทีมี cyanosis
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกและไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูก สาเหตุจากศูนย์การหายใจที่ก้านสมองทำงานยไม่ดี
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของกะบังลมแต่ไม่มีอากาศไหลผ่านจมูก เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
การดูแล
จัดท่านอนศีรษะสูง
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
suction เมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
Retinopathy of prematurity Retinopathy (ROP)
ความผิดปกติของทารกคลอดก่อนกำหนด มีการงอกผิดปกติของเส้นเลือดบริเวณรอยต่อของจอประสาทตา
ระยะเวลาการตรวจหา
ตรวจครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ 4-6 สัปดาห์ หรือเมื่ออายุครรภ์ตรวมอายุหลังเกิด 32 สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดำเนินของโรคตรวจซ้ำทุก 4 สัปดาห์
ถ้าพบว่ามีการดำเนินของโรคอยู่ตรวจซ้ำทุกอาทิตย์หรือตามแผนการติดตามประเมินของแพทย์
หลังจากทารกกลับบ้านแล้วถ้าไม่มีการดำเนินของโรคนัดมาตรวจซ้ำ
ถ้าพบ ROP นัดมาตรวจซ้ำทุกๆสัปดาห์
การวินิจฉัย
zone I zone II zone III
ความรุนแรง
stage 1 between vasularized and avascular retina
stage 2 ridge between vasularized and avascular retina
stage 3 ridge with extraretinal fibrovascular proliferation
stage 4 subtotal retinal detachment
stage 5 total retinal detachment
ปัญหาการติดเชื้อ
ปัญหาระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolite
เป็นผงมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังภาวะติดเชื้อ ภาวะลำไส้ทะลุ
ปัญหาระบบหัวใจเลือด
PDA (Patent Ductus Ateriosus)
Neonatal Jaundice
Anemia
รักษาPDA
โดยยา Indomethacin ใช้ขนาด 0.1-0.2 มก./กก. ทุก 8 ชม.
ห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl, Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
Urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
มีภาวะ NEC
โดยใช้ยา ibuprofen
ช่วยยัยยั้งการสร้าง prostaglandin ทำให้ PDA ปิด
ให้ทุก 12-24 hr จำนวน 3-4 ครั้ง
สามารถปิดได้ร้อยละ 70
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์และอายุไม่เกิน 10 วัน
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี Cr > 1.6 mg/dl and BUN > 20 mg/dl
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
IVH (intraventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
ปัญหาทางโภชานาการและการดูดกลืน
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
GER (Gastroesophageal Reflux)
Hypoglycemia
การพยาบาล
ให้อาหารเหมาะสมกับทารก
OG tube มนเด็กเหนื่อยง่าย ดูด กลืน ไม่ดี
IVF ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC สังเกตอาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการเจริญเติบโต
พัฒนาการล่าช้า
ส่งเสริมสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
การพยาบาล
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับ (36.8-37.2 ํC)
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิที่ทำให้ใช้พลังงานน้อยที่สุด เช่นตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนทั้ง 4 ทาง
ประเมินอุณห๓ูมิร่างกายตามขนาดของทารก พร้อมสังเกตอาการทางคลินิก เช่นเขียวตามปลายมือปลายเท้า
การดูแลด้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ประเมินการหายใจ การใช้แรง retraction สีผิว ปีกจมูก การกลั้นหายใจ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่านอน
ขณะกลั้นหายใจควรกระตุ้น
ดูแลให้ได้รับยา theophylline ตามแผนลดภาวะ apnea
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
หลีกเลี่ยงการจับต้องทารกเกินความจำเป็น
การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
1-2วันแรกเกิดงดน้ำและนมตามแผนการรักษา ช่วงนี้ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ดูแลการให้อาหารทางปากเมื่อการหายใจคงที่ มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ ไม่ท้องอืด
เมื่อทารกกินอาหารทางปากได้ ไม่ต้องให้สารน้ำ ต้องการสารอาหารประมาณ 130/kg/day แพทย์จะใ่นมผงในนมมารดาด้วย
ส่งเสริมให้ทารกได้รับนมจากมารดามากที่สุด
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
ประเมินความสารถในการรับนมของทารก
ดูแลการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลีกเลี่ยงให้ทารกใช้พลังงานมาก
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการ
เครื่องมือต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรค
อุปกรณ์ต้องใช้เฉพาะคน
ดูแลความสะอาดทั่วไปและสิ่งแวดล้อม
ในรายที่เสี่ยง ช่วยแพทย์ทำ septic work upและติดตามผล สังเกตอาการผิดปกติ อาการติดเชื้อ ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผน
ป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ได้นมทางปาก สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ป้องกันแก้ไขไม่ให้เกิดการส่งเสริมให้ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดตามผล dextrostix หรือ blood sugar
ป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
ดูแลให้ทารกฉีด vit K1 IM ตามแผน
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้าม ควรฉีดเข้าหลอดเลือดดำ หรือจำเป็นต้องฉีดเข้ากล้ามควรกดห้ามเลือดนานๆ
ดูแลให้ได้รับ vit Eและ FeSO4 ทางปากตามแผน
ทำหัตถการด้วยความนุ่มนวน
ติดตามและรายงานผล CBE
สังเกตอาการเลือดออกในอวัยวะต่างๆ
ดูแลให้ได้รับธาตเหล็กตามแผน
คงไว้ซึ่งการสมดุลย์ของน้ำ กรด ด่าง อิเล็กโทรไลต์
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
บันทึก I/O
ติดตามผล blood gas BUN electrolyte urine specific gravity
สังเกตอาการแสดงความไม่สมดุลย์อิเล็กโทรไลต์
ป้องกันการแตกทำลายของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์กับทารกเกินความจำเป็น
การแกะเทปออกจากผิวหนังต้องใช้ความระมัดระวัง
ระวังการรั่วของสารน้ำออกจากหลอดเลือด
ระวังการใช้สารละลาย เคมีกับทารก
ป้องกันการเกิด ROP
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ทารกได้รับออกซิเจน ควรติดตาม SpO2
ดูแลให้ได้รับ vit E ตามแผน
เตรียมทารกตรวจหา ROP
ดูแลทารกที่มีภาวะ ROP ที่ได้รับการรักษาโดยแสงเลเซอร์
ดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
ส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด
ส่งเสริมพัฒนาการระบบประสาทและพฤติกรรม ลดสิ่งกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อม
จัดท่า หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา
จับต้องทารกเท่าที่จำเป็น
ก่อนหลังให้การพยาบาลประเมินสัญญาณว่าทารกอยู่ในภาวะใด
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดาทารก
กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยม
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเมื่อบิดามารดามาเยี่ยม
เปิดโอกาศให้มารดาบิดาซักถาม ระบาย
ส่งเสริมให้เลี้ยงด้วยนมแม่
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติ
ตัวเหลืองจากสรีรสภาวะ
ตัวเหลืองจากพยาธิสภาวะ
การดูดซึมของbilirubinในลำไส้มากขึ้น
ตับกำจัด bilirubin ได้น้อยล
มีการสร้างbilirubinมากกว่าปกติ
สาเหตุ
มีการสร้างbilirubinมากกว่าปกติจากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
การดูดซึมของbilirubinในลำไส้มากขึ้น
การกำจัดbilirubinน้อยลง
การติดเชื้อ
การดูดซึมของbilirubinในลำไส้มากขึ้นจากภาวะที่เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
อันตรายจากการมีbilirubinสูง
ทำให้เกิด kernicterus เข้าสู่เซลล์สมอง ทำให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาท
การวินิจฉัย
ประวัติบุคคลในครอบครัวมีภาวะเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การส่องไฟ
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกอาจมีน้ำหนักตัวลดลง
ทารกมีภาวะเสียน้ำมากขึ้น
ทารกอาจถ่ายเหลว
ถ้าไม่ปิดตาทารกอาจทำให้ตาบอด
ทารกอาจมีผิวคล้ำขึ้น
การอุ้มสัมผัสจากมารดาน้อยลง
ประเมินสัญญษณชีพทุก 4 ชม.
อาจมีผื่นตามตัวชั่วคราว
การพยาบาล
ปิดตาทารก
ดูแบให้ทารกนอนตรงกลางของแผงหลอดไฟ
บันทึก V/S ทุก2-4hr
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ได้รับการตรวจเลือด
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การพยาบาล
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
ดูแลร่างกายทารกให้อบอุ่น
ขณะถ่ายเลือดวัด V/S
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
วัด V/S หลังทำจนกว่าจะคงที่
น้ำตาลในเลือดต่ำ
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดา
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อย
มีภาวะเครียดขณะอยู่ในครรภ์ คลอด หลังคลอด
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม ผวา สั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ
การรักษา
แรกเกิด 4 ชม. ให้นมภายใน 1 ชม.แรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นม ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
อายุ 4-24 ชม. ให้นมทุก 2-3 ชม.ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
การดูแล
กรณีทารกมีความเสี่ยงระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ต้องตรวจหาระดับน้ำตาลภายใน 1-2 ชม.
กรณีมรน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดตามทุก 30 นาที
ให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารก แรกเกิดเรียกว่า vigorous ได้จากการประเมินทารกแรกเกิด 15 วินาทีหลังเกิด
มีแรงหายใจด้วยตนเองดี
กำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
หากทารกแรกเกิดมีความผิดปกติหนึ่งใน 3 ทารกไม่ตื่นตัวเมื่อแรกเกิดเสี่ยงต่อการสูดสำลักขี้เทา และกู้ชีพโดยเฉพาะการ
การถ่ายขี้เทาในน้ำคร่ำเกิดได้ 2 ลักษณะ
ลักษณะทางพยาธิสรีรวิทยาปกติ รกและทารกตอบสนองต่อความเครียดทำให้ถ่ายขี้เทา
ลักษณะทางพยาธิสภาพ รกและทารกตอบสนองต่อความเครียดที่เกิดจากความผิดปกติ
ความรุนแรง
อาการรุนแรงปานกลาง
หายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น การดึงรั้งช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชม.
อาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวทันที
อาการรุนแรงน้อย
ทารกหายใจเร็วสั้นๆ 24-74 ชม. ทำให้แรงดันลดลง และมีค่ากรดด่างปกติ มักหายไปใน 24-72 ชม.
การพยาบาล
ให้ทารกได้รับออกซิเจน เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก 2-4 ชม.
รบกวนทารกน้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลตามอาการ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
ควบคุมป้องกันการติดเชื้อ
ควบคุมอุณหภูมิ
ดูแลทางเดินหายใจ
ประเมินการขับถ่าย
ดูแลน้ำหนักแรกเกิดทารก
ประเมินการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทางโภชนาการ
ติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและยาว
นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1 เลขที่4 612001004