Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อไวรัสใน สตรีตั้งครรภ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อไวรัสใน
สตรีตั้งครรภ
HIV
key สามารถผ่านรกไปหาทารกได้ สามารถผ่านทางน้ำนมไปหาทารกได้
การพยบ.ที่สำคัญ ลดการแพร่กระจาย ลดการแพร่ จากแม่สู่ลูกทุกระยะการตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
พยาธิ
เมื่อเชื้อเอชไอวี เข้าสู่ร่างกาย เชื้อจะจับกับ CD4 antigen บนผิวของเซลล์เม็ดเลือดขาวของร่างกาย เช่น T4 lymphocyte, macrophage จากนั้นเชื้อเอชไอวี จะเข้าไปในเซลล์เม็ดเลือดขาวเหล่านั้นแทรกเข้าไปใน นิวเคลียส แล้วเพิ่มจำนวนเม็ดเลือดขาวที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวี ร่างกายจึงมี เซลเม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อเอชไอวีจำนวนมาก ซึ่งเซลเม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ เอชไอวีจะแตกสลายง่าย อายุสั้น ในที่สุดเซลเม็ดเลือดขาวจะลดลงและมี ผลให้ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องและเกิดผลร้ายต่างๆตามมาจากภาวะ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การติดเชื้อจากแม่สู่ลูก
ระยะตั้งครรภ์ ขณะที่ทารกอยู่ในครรภ์มารดาเชื้อเอชไอวี จะติดผ่านเซลล์ trophoblast และ macrophages
ระยะคลอด การแพร่เชื้อส่วนใหญ่ (2ใน3ของการติดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก) เกิดขึ้นในระยะนี้จากการสัมผัสเลือดน้ำคร่ำและสารคัดหลั่งในช่องคลอดของแม่ที่ติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด เกิดจากการที่ทารกสัมผัสสารคัดหลั่งของแม่หรือจากการที่เชื้อผ่านทางน้ำนมแม่สู่ลูกหากมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ผลกระทบของการติดเชื้อต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
abortion
amnionitis
PROM
Preterm
Endometritis
ผลต่อทารก
DFIU
Still birth
IUGR
Preterm labor
ติด HIV
แนวทางการป้องกันและการรักษา
ระยะตั้งครรภ์
▧ คัดกรองตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ คัดกรองซ้ าป้องกัน windows period
▧ เริ่มยาต้านไวรัสทันที โดยไม่ต้องดูค่า CD4 (ตาม guideline 2017)
▧ คัดกรองสามี รักษาคู่
ระยะคลอด
▧ ระวังการท าให้ถุงน้ าแตก รั่ว ระวังการบาดเจ็บช่องทางคลอด
▧ ให้เพิ่มยา AZT ในระหว่างรอคลอด
▧ ถ้ายาระหว่างตั้งครรภ์ได้ไม่ครบ 3 ตัว เพิ่มยา NVP
▧ หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม Ergot
ระยะหลังคลอด
▧ ห้าม BF
▧ เริ่มให้ยาในทารก
▧ ตรวจการติดเชื้อของทารก 6 เดือนและ 1 ปี
.ไวรัสตับอักเสบบี
การติดเชื้อ
▧ การติดเชื้อเฉียบพลัน (acute hepatitis B infection)หมายถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในระยะแรก เป็นระยะเวลาน้อยกว่า 6 เดือน
▧ การติดเชื้อเรื้อรัง (chronic hepatitis B infection)หมายถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเป็นระยะเวลามากกว่า 6เดือน แบ่งได้เป็น
▧ พาหะ (carrier) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในร่างกาย ผู้ป่วยจะไม่มีอาการ แต่ยังสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได
การติดต่อ
ทางเลือดและการรับเลือด
เพศสัมพันธ์
แม่สู่ลูก ทางน้ำนม รก รอยถลอก
การตรวจวินิจฉัย
HHBsAg : บอกถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
HBeAg : บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
Anti HBc : เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อไวรัสตับอักเสบบีบอกถึงการเคยติดเชื้อไวรัสบี
Anti HBc-IgM : พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBc-IgG : พบได้ทั้งในตับอักเสบเฉียบพลัน, เรื้อรัง หรือแม้แต่ผู้ที่ตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
Anti HBe : จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
Anti HBs : จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBsAg ในเลือดแล้ว หรือ เป็นภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ผลกระทบของการติดเชื้อต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
▧ Abortion
▧ Preterm
▧ Jaundice
▧ hepatomegaly
ผลต่อทารก
▧ DFIU
▧ Still birth
▧ IUGR
▧ ทารกติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดศีรษะ คล้ายไข้หวัดใหญ่ การตั้งครรภ์ไม่ทำให้การดำเนินโรคเปลี่ยนแปลง
แนวทางการรักษา/พยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ คัดกรองสตรีทุกราย,รักษาตามอาการ,ควบคุมการทำงานของตับ, ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด ระยะนี้เป็นระยะที่เสี่ยงติดทารกมากที่สุด, c/s ถ้าจำเป็น,หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำ,Suction ให้ clear
ระยะหลังคลอด ดูแลให้ทารกได้รับ HBIG (hepatitis B immunoglobulin)12-24hr., ดูแลให้ทารกได้รับ HBV แรกเกิด 1 เดือน 6 เดือน,งด BF ถ้าหัวนมเป็นแผล หากทารกได้รับ HBIG แล้ว BF ได้
Key ทารกจะติดเชื้อได้สูงสุด ช่วงคลอด เชื้อผ่านทางน้ำนมได้
การ พยบ.ที่สำคัญ ลดการแพร่กระจาย ลดการแพร่จาก แม่สู่ลูกทุกระยะการตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
หัดเยอรมัน
เกิดจากเชื้อ rubella virus การติดต่อเกิดจากการสัมผัส ละอองน้ำมูก น้ำลายที่มีเชื้อหัดเยอรมัน เข้าสู่ร่างกายผ่าน ทางเดินหายใจ ระยะที่ติดต่อง่ายที่สุดคือ 2-3 วันก่อนผื่นขึ้น ถึง 4 วันหลังผื่นขึ้น ระยะเวลาการฟักตัวของโรค 14 –21 วัน
อาการและอาการแสดง
วันแรก ภายหลังได้รับเชื้อมีไข้ต่ำๆปวดศีรษะ ครั่นเนื้อ ครั่นตัว ต่อมน้ำเหลืองโต มีผื่นสีแดงขึ้นเกือบทั่วตัว
วันที่สองผื่นบริเวณหน้าจะจางหายไป ส่วนผื่นบริเวณลำตัวผิวหนังเป็นสีแดง แต่ผื่นที่แขนขาจะกระจาย
เชื้อหัดเยอรมันสามารถผ่านรกไปทำให้เกิดพยาธิสภาพต่อทารกในครรภ์โดยยับยั้งการเพิ่มจำนวนเซลล์ในอวัยวะต่างๆทำให้ทารกพิการแต่กำเนิดได้
ในมารดาที่มีการติดเชื้อซ้ำจะไม่มีผลกระทบต่อมารดาและทารกในครรภ์เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อแล้ว
ผลต่อการตั้งครรภ์
เกิด congenital rubella infection โดยเฉพาะ 1 stTrimester
เกิดภาวะ congenital rubella syndrome Cataract, glaucoma, retinopathy,microopthalmia Cardiac defect >PDA ,Deafness, Encephalitis, microencephaly, Anemia thrombocytopenia, Mental retard
การพยาบาล
▧ ให้ภูมิคุ้มกันก่อนตั้งครรภ์ มากกว่า 3 เดือน
▧ ให้คำปรึกษา terapeutic abortion หากติดเชื้อในไตรมาสแรก
ไวรัสซิก้า
เป็นเชื้อคล้ายคลึงกับไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ซึ่งเป็นสาเหตุของไข้เลือดออก ไข้สมองอักเสบ และเชื้อไข้สมองอักเสบจีอี
ระยะฟักตัวเฉลี่ย 4 – 7 วัน สั้นที่สุด 3 วัน อาการที่พบบ่อยได้แก่ มีไข้ ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดบวม ปวดหลังอาจมีอาการอื่น ๆ ได้ เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ต่อมน้ าเหลืองโต และอุจจาระร่วง ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ที่ส่งผลต่อทารกในครรภ์ทำให้มีสมองเล็ก(Microephaly) หรือมีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ทั้งหมดเกิดจากยุงลายเป็นพาหะ