Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost) - Coggle…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost)
.
สภาวะสุขภาพ
“Health is a state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity” WHO (1946)
“สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ ใช้เพียงไม่ มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น”
.
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
•ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
“ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical efficiency)”
• สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
“ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)”
• สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงที่สุด
“ประสิทธิภาพในการจัดสรร (Allocativeefficiency)”
.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
Outcomes in economic evaluation
• การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่างต้นทุน (costs)และ ผลลัพธ์ (benefits)
• การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
.
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง (Surrogate outcomes or Intermediate outcomes) มีการกำหนดผลลัพธ์ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวแทนผลลัพธ์สุขภาพ
• ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
• ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes) ผลลัพธ์ทางสุขภาพขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความสำคัญกับผู้ป่วย
• ความรู้สึก (Feeling)
• การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
• การรอดชีวิต (Survival)
.
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลที่เป็นตัวแทน Intermediate outcomes
ข้อดี
• มีค่าที่ชัดเจนข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพผลที่เป็นตัวแทนIntermediate outcomes
• สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
• สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
• ไม่ได้บ่งชี ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
• อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
.
ผลสุดท้าย Final outcomes
ข้อดี
• เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
• ครอบคลุมผลการรักษา
• มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย
• อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
• ค่าใช้จ่ายสูง
.
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) vs.
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs.
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
.
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs.
ต้นทุนดำเนินการ (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs.
ต้นทุนทางอ้อม (Indirect costs)
.
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost)
ตัวอย่าง: เงินเดือนค่ารับจ้างเหมาจ่ายรายเดือน ค่าเช่าอุปกรณ์ค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์
.
ต้นทุนผันแปร (Variable cost)
ตัวอย่าง: ค่ายา ค่าน้ำยาห้องปฏิบัติการ ค่าไฟฟ้า น้ำประปา ค่าแพทย์ (Doctor fee)
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุ น: Cost Centre Approach
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน(Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน(Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม(Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด (Full Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
ทำให้มีข้อมูลและสามารถน้าเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็วใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ จากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้