Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพียง (Economy and Sufficiency Economy) - Coggle…
เศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพียง
(Economy and Sufficiency Economy)
ระบบเศรษฐกิจ (ECONOMICS SYSTEM)
หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจ ที่ประกอบด้วยหน่วยเศรษฐกิจหลายๆ หน่วยรวมกัน มีกฎเกณฑ์ ระเบียบแบบแผนและแนวทางปฏิบัติเดียวกัน
หน่วยเศรษฐกิจ (ECONOMICS UNITS)
ครัวเรือน (Household)เป็นผู ้บริโภคเป็นแหล่งปัจจัยการผลิตแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการบริโภค
หน่วยธุรกิจ (Business or firm)เป็นผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้าแสวงหากำไรสูงสุด (MaximizeProfit)
รัฐบาล (Government)เป็นทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตและเกี่ยวข้องกับ
หน่วยเศรษฐกิจอื่น เช่น เก็บภาษี คุ้มครองผู้บริโภค
ปัจจัยการผลิต (FACTORS OF PRODUCTION)
ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ(Land& Resource) หมายถึงทุกสิ่งที่ธรรมชาติสร้างขึ้นทั้งบนดิน ใต้ดิน
ค่าเช่า
ทุน (Capital) หมายถึงเงินทุน (Money capital) และสินทรัพย์ประเภททุน(Capital goods) เช่นเครื่องจักร อุปกรณ์ในการผลิต อาคารโรงงาน
ดอกเบี้ย
แรงงาน (Labor)
หมายถึง บุคคลที่ใช้แรงกายและสมอง
แรงงานฝีมือ
กึ่งฝีมือ
ไร้ฝีมือ
ค่าจ้าง
4 ผู้ประกอบการ(Entrepreneur) เป็นผู้รับความเสี่ยงในการทำธุรกิจ
กำไร
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ผลิตอะไร ?
–ราคาสินค้าเป็นตัวจูงใจผู้ผลิต
ผลิตอย่างไร ?
–เลือกวิธีการผลิตที่ต้นทุนต่ำสุด
ผลิตเพื่อใคร ?
–รายได้ของบุคคลเป็นตัวกำหนด
ประเภทของระบบเศรษฐกิจ (Economics System)
รัฐบาล 100%คอมมิวนิสต์
Communism Economics Sy stem
รัฐบาลไม่ถึง100%สังคมนิยม
Socialist Economics System
เอกชนไม่ถึง100%ผสม
Mixed Economics System
เอกชน100%ทุนนิยม
Capitalism Economics Sy stem
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
SufficiencyEconomy
พอประมาณ
1.พอดีด้านจิตใจ
เข็มแข็งมีจิตสำนึกที่ดี เอื้อออาทร ประนีประนอม นึกถึง
ประโยชน์ส่วนรวม
2.พอดีด้านสังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูลรู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
และชุมชน
3.พอดี ด้านทรัพยากร
ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
รู้จักใช้ และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบและเกิดความยั่งยืนสูงสุด
4.พอดี ด้านเทคโนโลยี
รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
5.พอดี ด้านเศรษฐกิจ
เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน
มีเหตุผล
1.ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้านลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวิต
2.ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีวิต
3.ละเลิกการเก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขายประกอบอาชี แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
4.ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก
5.ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่ งยั่วกิเลสให้ หมดสิ้นไป
มีภูมิคุ้มกันในตัว
สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
เป็นวิถีการดำเนินชีวิต ที่ใช้คุณธรรมนำความรู้
เป็นการพัฒนาตัวเองครอบครัวองค์กรชุมชนสังคม
เป็นหลักปฏิบัติเพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ระหว่างคนกับคนในสังคม
เป้าหมายของการพัฒนา
การพัฒนาคนให้
พออยู่พอกิน
อยู่ดีมีสุข
การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การแบ่งพื้นที่ทำกินตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่
แหล่งน้ำ 30
พืชสวนไร่ 30
ที่อยู่ 10
นาข้าว 30