Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด, อดแดงไหลเข - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด
สาเหตุของภาวะบวมน้ำ
สาเหตุ
Lymphatic obstruction
พยาธิfilaria จะมีfibrosis ที่หลอดน้ำเหลือง ทำใหการระบายสารน้ำกลับทางหลอดน้ำเหลืองไม่สะดวก
ผู้ป่วยElephantiasis
Oncotic pressure ลดลง
ผู้ป่วยสร้างโปรตีนลดลง
ผู้ป่วยโรคไตเสียโปรตีนกับปัสสาวะ
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือด
เพิ่มขึ้น
Congestive heart failure
สตรีมีครรภ์ ขาบวมจากมดลูกที่มีขนาดใหญ่กดทับIVC
ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
EDEMA
การบวมน้ำหรือการสะสมของเหลวบ่งบอกถึงความผิดปกติการควบคุมปริมาณน้ำหรือของเหลว
การบมน้ำหรือของเหลว
Transudate
Exudate
ภาวะการสะสมของน้ำหรือของเหลว(Fluid)ในช่องระหว่างเซลล์(interstital space)หรือภายในช่องร่างกายมากกว่าปกติ
ภาวะน้ำคั่ง
เลือดคั่ง (HYPEREMIA และ CONGESTION)
ภาวะที่มีเลือดปริมาณมากกว่าปกติคั่งค้างในหลอดเลือดไซนูซอยด์ของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะต่างๆของร่างกาย
เลือดคั่ง (HYPEREMIA)
มีการอักเสบ มีปริมาณเลือดเพิ่มมากขึ้น เกิดความร้อนและบวมแดง
ระบบประสาทซิมพาเทติก หรือ การหลั่งสารที่มีผลต่อหลอดเลือด(Vasoactive substance) ทำให้หลอดเลือดเเดงขยายตัว
เช่น เวลาโกรธ เวลาอายหน้าแดง
Active hyperemia บางครั้งเรียกว่า hyperemiaนการที่มีเลือด
มาคั่งในหลอดเลือดแดง (artery circulation) มากกว่าปกติ
มีการคั่งของเม็ดเลือดเเดงปริมาณมาก ส่วนมากเลือดมรออกซิเจนมาก ทำให้เนื้อเยื่อมีสีแดงหรือสีชมพูมากกว่าบริเวณอื่่นๆ
เลือดคั่ง (CONGESTION)
Passive hyperemia นิยมเรียกว่า congestion
มีเลือดด าคั่งในหลอดเลือด (venouscirculation) เนื่องจากมีการขัดขวางการไหลเวียนกลับของเลือดดำทำให้เลือดไม่สามารถไหลผ่านหลอดเลือดได้ตามปกติ
CONGESTION
ปริมาณออกซิเจนน้อยบริเวณที่เกิดเลือดคั่งแบบนี้ มองเห็นเป็นสีเขียว
ให้บริเวณที่เกิดเลือดคั่งแบบนี้ มองเห็นเป็ นสีเขียวหรือออกม่วง เรียกว่า cyanosis
ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาที่พบเช่นเดียวกับactive hyperemia และมักเกิดร่วมกับการบวมน ้าedema)
ชนิดภาวะของเลือดออก
ภาวะที่มีเลือดออกมาจากหลอดเลือด
เนื่องจากหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาดโดยตรง หรือการเสื่อมสภาพของผนังหลอดเลือด
เลือดซึมผ่านออกนอกหลอดเลือดโดยวิธี diapedesis ทั้งที่หลอดเลือดไม่ฉีกขาด
อาการเลือดออก แบ่งเป็ น 2 ประเภท
Internal hemorrhage
อาการเลือดออกที่ไม่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกมาภายนอกร่างกาย
เช่นเลือดออกในสมอง(เส้นเลือดในสมองแตก) เลือดออกในช่องท้อง(ท้องมดลูกแตก)
External hemorrhage
นอาการเลือดออกที่ไม่เห็นเลือดไหลออกมาภายนอกร่างกาย
เช่นเลือดออกในสมอง(เส้นเลือดในสมองแตก) เลือดออกในช่องท้อง(เช่น ท้องนอกมดลูกแตก)
สาเหตุการเกิดเลือดออก หรือจุดเลือดออก หรือตกเลือด
ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายโดยตรงเชื้อโรคที่ท าลายผนังหลอดเลือดหรือเกิดจากการเสื่อมสภาพ หรือได้รับสารพิษ ท าให้เลือด
ซึมผ่านออกจากหลอดเลือดได้
3.หลอดเลือดได้รับอันตรายจากผลการอักเสบหรือเนื้องอก หรือหนอนพยาธิที่ทำลายผนัง
1.ผนังหลอดเลือดได้รับอันตรายฉีกขาดโดยตรงจากของมีคม
4.ความผิดปกติของขบวนการการแข็งตัวของเลือด เช่น การขาดเกล็ดเลือด หรือขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด (coagulation factor)
PETECHIAL HEMORRHAGE
จุดเลือดออกขนาดเล็กในชั้นผิวหนังหรือเยื่อบุ
สาเหตุ
ความผิดปกติของผนังหลอดเลือด
หรือความผิดปกติของระบบแข็งตัวของเลือด
PURPURA HEMORRHAGE
จ้ำเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อ
เส้นผ่านศูนยฺ์กลางไม่เกิน1เซนติเมตรความผิดปกติของหลอดเลือด
ECCHYMOTIC HEMORRHAGE
ปื้นเลือด หรือแต้มเลือดขนาดโตในเนื้อเยื่อมีเส้นผ่านศูนย์กลาง12เซนติเมตร
เรียกว่าecchymosis
ชนิดของช๊อก
เกิดการไหลเวียนของเลือดล้มเหลวเลือดไป
เลี้ยงส่วนต่างๆ ลดลง มีผลให้ cell ได้รับ O2
SHOCK ภาวะที่มีความผิดปกติทางสรีรวิทยาาให้เกิดความไม่สมดุลของปริมาณเลือดที่ไหลเวียนในหลอดเลือดกับขนาดของหลอดเลือด
SHOCK แบ่งเป็ น 3 ประเภท
1.Hypovolemic shock
ภาวะ shock จากปริมาณไหลเวียนลดลงเป็นภาวะshock ที่พบบ่อยที่สุด
โดยมีสาเหตุดังนี้
Internal fluid loss
การอักเสบในช่องท้อง
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ อวัยวะภายในฉีกขาด
กระดูกหักภายใน
External fluid loss
การเสียเลือด
การสูญเสียน้ำทางไต เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน เบาจืด หรือยาที่ขับปัสสาวะมากเอกนไป
การสูญเสียผิวหนังแผลไฟไหม้ การมีไข้
2.Cardiogenic shock
สาเหตุ CARDIOGENIC SHOCK
การไหลกลับของเลือดกลับมาเลร้ยงห้องล่างซ้ายลดลง
การฉูบฉีดล้มเหลว
3.Vasogenic shock
3.2 Septic shock
ภาวะ shock จากการติดเชื้อ เป็ นภาวะที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดซึ่งเกิดจากพิษของ“แบคทีเรีย” ทั้ง gram-ve และ gram+ve รวมถึงเชื้อรา เชื้อไวรัส
ส่วนมากเกิดจากแบคทีเรีย gram-ve ซึ่งจะหลั่งสารพิษชนิด Endotoxin ในกระแสเลือด
มีผลต่อระบบไหลเวียนพบมากผู้ป่วยอายุน้อยหรือผู้สูงอายุ
เกิดจากสาร Endotoxin ที่ปล่อยออกมาอันตรายต่อเซลล์ของร่างกาย
การหลั่งสารจากเซลล์เม็ดเลือดขาวเกร็ดเลือด Histamine, Serotonin, Kinin และอื่นๆ
มีผลต่อการการซาบของร่างกาย
1.หลอดเลือดขยาย
2.กระตุ้นให้เกิดการหลั่ง tissue thromboplastin
กดการท างานของหัวใจ
ท าลายเซลล์ผนังหลอดเลือด - ปริมาณไหลเวียนเลือดลดลง
3.1 Neurogenic shock
การย้ายตัวของหลอดเลือดทั่วร่างกายเป็นผลทำให้หลอดเลือดกลับเข้าสู่ร่างกาย
เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเทติกเป็นศูนย์กลางระบบหลอดเลือด
สาเหตุ
พยาธฺิสภาพที่สมองกระทบกระเทือนศูนย์ควบคุม
พยาธิสภาพไขสันหลังศูนย์คบคุมหลอดเลือดไม่สามารถควบคุมpreganglionic vasoconstrictor never
3.3 Anaphylactic shock
เกิดจากการแพ้สารหรือยาต่างๆโดยร่างกายนสารกระตุ้น (antigen)
ส่วนใหญ่เป็นพวก IgE เมื่อได้รับการกระตุ้นร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาแพ้สารได้complement (Histamine, Kinin, prostaglandin) คล้าย
ภาวะ shock จากหลอดเลือดเป็นภาวะการขยายตัวของหลอดเลือด
ส่งผลให้ปริมาณเลือดไหลกลับสูาหัวใจลดลง
แรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย(systemicvascular resistance)
อดแดงไหลเข