Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีปัญหาสุขภาพ,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีปัญหาสุขภาพ
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
อาการของภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
Symmmetric IUGR หรือภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน อวัยวะทุกส่วนของทารกในกลุ่มนี้จะมีอัตราการเจริญเติบโตช้า โดยอวัยวะภายในของทารกจะมีขนาดเล็กในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งมักเกิดตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์
Asymmetric IUGR หรือภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้าแบบไม่ได้สัดส่วน ทารกในกลุ่มนี้จะมีอวัยวะขนาดเล็กทุกส่วน ยกเว้นศีรษะและสมองที่มีขนาดปกติหรืออาจได้รับผลกระทบน้อยกว่าอวัยวะส่วนอื่น ๆ ซึ่งมักเกิดจากความผิดปกติในช่วงระยะท้ายของการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ความผิดปกติของรก เช่น ภาวะรกเกาะต่ำ หรือภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
วามผิดปกติของทารก เช่น ความผิดปกติของโครโมโซมในทารก หรือความพิการแต่กำเนิด
ขภาพของมารดาขณะตั้งครรภ์ โรคบางชนิดที่เกิดกับมารดาอาจส่งผลต่อทารกในครรภ์ได้ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต
การวินิจฉัยภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
วัดความสูงของยอดมดลูก
ชั่งน้ำหนัก แพทย์อาจตรวจและบันทึกน้ำหนักของมารดาเป็นระยะ หากน้ำหนักตัวของมารดาไม่เพิ่มขึ้นเท่าที่ควร
ตรวจอัลตราซาวด์ เป็นการตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง วิธีนี้ช่วยให้แพทย์เห็นภาพของทารกในครรภ์ เพื่อตรวจดูการเจริญเติบโตของทารก
เจาะน้ำคร่ำ เป็นการนำตัวอย่างน้ำคร่ำมาตรวจหาความผิดปกติของทารก
การตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยง
อายุของคุณแม่
น้อยกว่า 17 ปี ” หรือ “มากกว่า 35 ปี
โรคและความผิดปกติของคุณแม่ที่เกิด “ก่อน” การตั้งครรภ์
โรคประจำตัวของคุณแม่ทุกอย่างมีผลระหว่างการตั้งครรภ์ ไม่ว่าจะเป็น โรคความดันเลือดสูง, โรคเบาหวาน, โรคหอบหืด, โรคตับ, โรคไต, โรคหัวใจ
โรคติดเชื้อต่างๆ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคเอดส์, โรคเริม, โรคหนองใน
โรคและความผิดปกติของคุณแม่ที่เกิด “ระหว่าง”การตั้งครรภ์
พบบ่อยระหว่างการตั้งครรภ์ 2 โรค คือ “เบาหวาน” และ “ครรภ์เป็นพิษ”
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์แฝด ยิ่งแฝดหลายคน ยิ่งเสี่ยงมาก โดยเฉพาะการคลอดก่อนกำหนด
ภาวะรกเกาะต่ำ ตำแหน่งที่รกเกาะ คือ จุดที่ลูกฝังตัว
ภาวะรกเกาะต่ำ ตำแหน่งที่รกเกาะ คือ จุดที่ลูกฝังตัว
การคลอดก่อนกำหนด การคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ อายุครรภ์ที่คลอดยิ่งน้อย
ภาวะรกเสื่อม ธรรมชาติจะให้รกทำงานส่งอาหารให้ลูกจนถึงครบกำหนดคลอด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย มักเกิดร่วมกับภาวะรกเสื่อม
ภาวะน้ำคร่ำน้อย มักเกิดร่วมกับภาวะรกเสื่อม
ภาวะผิดปกติของลูก มีได้ทั้งความผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น ดาวน์ซินโดรม หรือความพิการทางร่างกาย
ภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด PROM
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด
ประวัติน้ำเดินก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน โดยเฉพาะก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด
การติดเชื้อในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น ปากมดลูก ช่องคลอด และปากช่องคลอด
ภาวะเลือดออกทางช่องคลอด เช่นในรายที่คุณแม่มีประวัติเลือดออกในไตรมาสแรก
สูบบุหรี่ จะเพิ่มความเสี่ยงสูง 2-4 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
การวินิจฉัย
ให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆ ไหลจากช่องคลอดเป็นปริมาณมาก
การตรวจร่างกาย โดยการใส่ dry sterilized speculum เข้าไปในช่องคลอด จะเห็นน้ำคร่ำขังอยู่ที่ posterior fornix หรือไหลออกมาจากปากมดลูกชัดเจน โดยเฉพาะเวลาให้ผู้ป่วยเบ่งหรือไอ (cough test)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Fern test
เก็บตัวอย่างจาก posterior fornix ป้ายบน ลงบนแผ่น slide ทิ้งให้แห้ง นำไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์จะพบผลึกรูป fern จากการที่น้ำคร่ำมี electrolyte โดยเฉพาะ NaCl
Nitrazine paper test
เนื่องจากน้ำคร่ำมี pH อยู่ในช่วง 7.1 - 7.3 ขณะที่สารคัดหลั่งจากช่องคลอดมี pH อยู่ในช่วง 4.5 - 5.5 ดังนั้นเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ nitrazine จะเกิดการเปลี่ยนสีเป็นสีน้ำเงิน
Nile blue test
เมื่อทารกอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไปจะตรวจพบเซลล์จากต่อมไขมันของทารกได้ในน้ำคร่ำ เมื่อนำไปย้อมด้วย nile blue sulphate เซลล์เหล่านี้จะติดสีแสด
Indigocarmine
ในกรณีที่ตรวจภายในแล้วไม่พบน้ำคร่ำในช่องคลอดแต่ยังมีข้อสงสัยว่าน้ำคร่ำอาจจะแตกจริง ทดสอบโดยการฉีดสี indigocarmine 1 cc ละลายใน NSS 9 cc ฉีดผ่านผนังหน้าท้องเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ แล้วให้สังเกตสีน้ำเงินของ indigocarmine ที่จะไหลผ่านเข้าไปในช่องคลอดหากมีถุงน้ำคร่ำแตกจริง
Ultrasonography
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงจะมีประโยชน์ในกรณีที่ตรวจพบว่ามีน้ำคร่ำน้อย ( oligohydramnios ) โดยที่ตรวจไม่พบความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะของทารกและทารกไม่มีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ สันนิษฐานได้ว่าน่าจะมีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกจริง
ครรภ์เกินกำหนด
สาเหตุ
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ (Prepregnancy body mass index : BMI) ≥ 25 kg/m2
ครรภ์แรก (Nulliparity) พบได้มากกว่าครรภ์หลัง
มีประวัติเคยตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
ลักษณะที่จะพบในทารก
ลักษณะผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก
ปัญหาทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Fetal-Growth restriction) เมื่อทารกอยู่ในครรภ์นานเกินไปก็อาจจะเกิดการชะงักการเจริญเติบโตเนื่องจากรกเสื่อมสภาพได้
ญหาทารกตัวโตกว่าปกติ (Macrosomia) การเจริญเติบโตและน้ำหนักของทารกจะสูงสุดที่อายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็ม หลังจากนั้นการเจริญเติบโตจะช้าลงเรื่อย ๆ
ความผิดปกติของน้ำคร่ำ
ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
สาเหตุ
ความพิการของทารก
มารดาเป็นเบาหวาน
เนื้องอกของรก chorioangioma
การวินิจฉัยแยกโรคอายุครรภ์ผิด ครรภ์แฝด ก้อนเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน เช่น ถุงน้ำของรังไข่ เนื้องอกมดลูก น้ำในช่องท้องของมารดา (ascites) ภาวะอ้วน เป็นต้น
ผลกระทบต่อทารก
อัตราตายปริกำเนิด จะเพิ่มขึ้น 2-5 เท่า
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
มีน้ำคร่ำประมาณ 100-300 มล.
เมื่อน้ำคร่ำน้อยก็เกิดภาวะ pulmonary hypoplasia ในทารกได้บ่อย
มีการกดต่อผนังทรวงอก โดยมดลูกที่มีน้ำคร่ำน้อย
ขาดน้ำที่จะหายใจเข้าไปใน terminal airway ของปอด
อาจจะเกิดจากความผิดปกติของปอดเอง
ทารกพิการโดยกำเนิด การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะของทารก ภาวะไตฝ่อทั้งสองข้าง (renal agenesis)
ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 13 triploidy
รกเสื่อมสภาพ (utero-placental insufficiency; UPI) เช่น ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ มารดาเป็นความดันโลหิตสูง เบาหวาน preeclampsia ครรภ์เกินกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะน้ำคร่ำอุดตัน (Amniotic Fluid Embolism ,AFE)
สาเหตุ
คลอดเร็ว มารดาอายุมาก เคยตั้งครรภ์หลายท้อง
การทำหัตถการต่าง ๆ
ใช้คีมหรือเครื่องดูดสุญญากาศ การผ่าตัดคลอด
รกเกาะต่ำที่มีเลือดออก รกรอกตัวก่อนกำหนด ปากมดลูกฉีกขาดจากกระบวนการคลอด ทารกอยู่ในภาวะคับขัน ครรภ์เป็นพิษ
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว (hemodynamic collapse)
ระยะที่สองภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulopathy)
นายคำสิทธิ์ ศิริวานก เลขที่ 7 ก