Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
การช่วยเหลือ
F/E
ข้อบ่งชี้
ด้านมารดา:PIH Prolong อายุรศาสตร์ ไม่มีแรงเบ่ง
ด้านทารก : Fetal distress
Propylactic F/E
ภาวะท่ีตอ้ งพร้อม MR HE Cx Fully dilated ไม่มี CPDไม่มี Full bladder
การพยาบาล
เตรียมเครื่องมือ
การเตรียมผู้คลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา PPH
ต่อทารก Facial nerve
V/E
ข้อบ่งชี้
มารดา: มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
ระยะคลอดยาวนาน
มีโรค ภาวะแทรกซ้อน
การหมุนศีรษะทารกผิดปกติ
Fetal distress ไม่รุนแรง
ข้อห้าม
ทารกท่าผิดปกติ
คลอดทารกก่อนกำหนด
สายสะดือพลัดต่ำ
ศีรษะทารกอยู่เหนือทางเข้าเชิงกราน
Fetal didtress
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมร่างกายและจิตใจ
เตรียมเครื่องมืออุปกรณ์
เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 15 นาที
ประเมิน UC
ประเมินสภาพทารกแรกเกิด
ลดความดันเครื่องสุญญากาศ
หลังทำ
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก สารน้ำ
ประเมิน V/S,UC
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอดและฝีเย็บ
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
การบาดเจ็บต่อช่องคลอด
การฉีกขาดของฝีเย็บถึงทวารหนัก
ทารก
อาจเกิด Cerhal hematoma
อาจเกิดกะโหลกศีรษะแตก
อาจเกิดรอยถลอกบริเวณ caput succedaneum
อาจมีเลือดออกที่จอตา
อันตรายต่อสมอง
C/S
ข้อบ่งชี้
Contracted Pelvic
Pelvic Tumors
Placenta previa
Abruptio placenta
Macrosomia
Fetal distress
ชนิดการผ่าตัด
Classical Caesarean Section
Low Cervical Caesarean Section
Transverse Incision
Low Vertical
การเตรียมมารดาเพื่อทำ C/S
ประเมินสภาพมารดาและทารก
อธิบายสาเหตุ ความจำเป็นและขั้นตอนการทำ
ประเมินความวิตกกังวล และให้ระบายความรู้สึก
อธิบายเกี่ยวกับการให้ยาระงับความรู้สึก
อธิบายเกี่ยวกับ Electrococagulation
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นหลัง C/S
การพยาบาลหลัง C/S
ป้องกันการตกเลือด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาชา
ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด
ป้องกันภาวะ Dehydration Fluid Over Load
ป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อ
ป้องกันภาวะท้องอืด
Promotion of bonding
การล้วงรก
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
ถุงมือยาวถึงข้อศอกปราศจากเชื้อ 2 คู่ เสื้อคลุมและผ้าช่องสะอาดปราศจากเชื้อ
อุปกรณ์สำหรับ general anesthesia, endotracheal tube, oxygen, nitrous oxide, halothane
เตรียมเลือดเต็มส่วน (whole blood) อย่างน้อย 2 ยูนิต และเตรียมพร้อมที่จะให้ได้ทันที
เตรียมผู้คลอด
ผู้คลอดอยู่ในท่า lithotomy และบอกผู้ป่วยทราบสาเหตุที่ต้องล้วงรก และขั้นตอนในการล้วงรก
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรเป็น LRS 1,000 mL IV drip ด้วยอัตราที่เหมาะสมทดแทนเลือดที่เสียไป และขึ้นกับ vital sign ของผู้ป่วยถ้าเสียเลือดมากอาจเปิดเส้น 2 เส้น เตรียมพร้อมนำเลือดมาให้
ให้เจ้าหน้าที่ตรวจวัดความดันโลหิต และชีพจรเป็นระยะๆ ขณะปฏิบัติหัตถการ
ทำความสะอาดอวัยวะเพศภายนอกใหม่อีกครั้งหนึ่ง และคลุมผ้าช่องเปิดไว้เฉพาะบริเวณปากช่องคลอด
ให้ general anesthesia with endotracheal intubation เพื่อให้ผู้คลอดไม่เจ็บและ relax (ถ้าเป็นไปได้ควรให้วิสัญญีแพทย์เป็นผู้ให้ยาสลบ)
Induction of labour
การชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้
มารดา
ทารก Posterm pregnancy
อายุรศาสตร์
ข้อห้าม
CPD Placenta previa
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการชักนำการคลอด Bishop scoring system
ยาที่ใช้
Prostaglandin E1
Prostaglandin E2
Oxytocin นิยมใช้ในการ Augmentation
Breech assisting
ชนิดท่าก้น
Complete breech
Incomplete breech
Frank breech
อันตรายของการคลอดท่าก้น
ต่อมารดา
ติดเชื้อ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
การหักของกระดูกไหปลาร้า กระดูกแขนขา การเครื่อนของข้อสะโพกและไหล่
ตับแตกม้ามแตกมักเกิดจากการจับแรงเกินไป
เลือดออกในสมอง
ทารกขาดออกซิเจน
การช่วยคลอดทางช่องท้อง
Spontaneous breech delivery:
ให้มารดาออกแรงเบ่งคลอดเอง
Partial breech extraction:
ช่วยเหลือเมื่อสะดือพ้นปากช่องคลอด
Total breech extraction:
โดยทำคลอดลำตัว