Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด - Coggle Diagram
บทที่8 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
ภาวะติดเชื้อหลังคลอด (Puerperal Infection)
การติดเชื้อแบคทีเรียภายหลังคลอดที่เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระยะหลังคลอดไป
จนถึงระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุส่งเสริม
ปัจจัยเสี่ยงทั่วไป
1 ภาวะซีด (Anemia)
2 ภาวะทุพโภชนาการ
3 การไม่ได้ฝากครรภ์
4 เศรษฐฐานะต่ำ
5 การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการตั้งครรภ์
6 มีการอักเสบของมดลูก
7 ประวัติเป็นโรคเบาหวาน
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการคลอด
1 ถุงน้ำคร่ำแตกเนิ่นนาน (prolonged rupture of membranes)
2 จำนวนครั้งของการตรวจภายใน
3 การทำหัตถการ , intrauterine fetal monitoring ในมารดาที่มีครรภ์เสี่ยงสูง
4 ระยะเวลาของการคลอดที่ยาวนาน
5 วิธีการคลอด การคลอดทางช่องคลอด
6 การมีบาดแผลฉีกขาดของช่องทางคลอด
7 การล้วงรก
8 การมีเศษรกและเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
สาเหตุจากการคลอด
การติดเชื้อระบบอวัยวะสืบพันธุ์
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อที่เต้านม
การติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ (Localizied infection)
สาเหตุ
เกิดจากการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ขณะคลอด
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง พบว่า จะมีไข้หลังวันที่ 2 ของการคลอด เจ็บแผลฝีเย็บมาก แผลมีการอักเสบ บวมแดง บางครั้งเป็นฝีหนอง และแผลจะแยกออกจากกัน อาจมีอาการปัสสาวะลำบาก และปัสสาวะไม่ออกได้
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดด า
ถอดไหมที่เย็บและเปิดแผลทั้งหมด
ใช้ยาชา 1% xylocain jelly ทาที่แผล
ตัดเนื้อเยื่อที่ตายออกทั้งหมด
ทำความสะอาดแผลวันละ 2 ครั้ง ด้วย betadine
ให้ hot sitz bath วันละหลายครั้ง ด้วยน้ าผสมเกร็ดด่างทับทิม หรือน้ าเกลือ หรือให้ infrared light
ประเมินลักษณะแผล ถ้าแผลสีชมพูค่อนข้างแดง ให้เย็บฝีเย็บโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
การอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometritis , Metritis)
สาเหตุ
การตรวจภายใน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง
การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
การผ่าตัดที่มดลูก
การตรวจ Internal electrical monitoring
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง พบว่า มีไข้สูง อุณหภูมิมากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
จากการตรวจร่างกาย จะตรวจพบระดับยอดมดลูกโตกว่าที่ควรจะเป็น กดเจ็บที่มดลูกหรือปีก
มดลูกทั้งสองข้าง หรือข้างใดข้างหนึ่งเมื่อตรวจทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพาะเชื้อจากบริเวณที่ติดเชื้อ การเจาะเลือดตรวจพบว่ามีภาวะ
leukocytosis ตั้งแต่ 15,000 - 30,000 cell per l ค่า neutrophils สูงขึ้น
การรักษา
ส่วนใหญ่ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน (Parametritis , Pelvic cellulitis)
สาเหตุ
การวินิจฉัย
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดโดยให้พวก broad - spectrum antibiotic และจึงเลือกให้เมื่อผล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ชี้ชัดว่าติดเชื้อตัวใด
จากอาการและอาการแสดง พบมีไข้สูง 38.9 - 40 องศาเซลเซียส
กดเจ็บที่ท้องน้อย
ฝีหนองที่เหนือ poupart’s ligament
มีการติดเชื้อที่ช่องคลอด หรือปากมดลูก ซึ่งทวีความรุนแรง หรือเป็นอยู่นานโดยไม่ได้รับการดูแลรักษา ทำให้เกิดการติดเชื้อลุกลาม
การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง (Peritonitis)
สาเหตุ
มีการอักเสบติดเชื้อในโพรงมดลูก
แผลผ่าตัดในมดลูกแยก หรือเนื้อเน่าเปื่อย
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน
ฝีที่ท่อนำไข่และรังไข่แตก
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง พบว่า มีอาการท้องอืด กดเจ็บผนังหน้าท้อง หน้าท้อง โป่งตึง ปวดท้องท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน มีไข้สูง อุณหภูมิ 39 - 40.5 องศาเซลเซียส
การรักษา
ให้สารน้ าทางหลอดเลือดด าให้เพียงพอ แก้ไขภาวะพร่องของกรด-ด่าง และภาวะซีด ตรวจติดตามและป้องกันภาวะ shock
ให้ gastric suction เพื่อลด distension จะทำให้ผู้ป่วยสบายขึ้น
งดน้ำและอาหารทางปาก
ให้สารต้านจุลชีพหลายอย่างรวมกัน ให้เหมาะสม
ผ่าตัด ถ้าอาการไม่ดีขึ้นอาจต้องตัดมดลูกล้างเอาหนองออก
ให้ยาแก้ปวด
การพยาบาล
วัตถุประสงค์การพยาบาล
การติดเชื้อบริเวณแผลผีเย็บ / มดลูก / เต้านมลดลง หรือหายไป
หญิงหลังคลอด คลายความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะติดเชื้อหลังคลอด
หญิงหลังคลอดแสดงบทบาทการเป็นมารดาได้อย่างถูกต้อง
หญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองในระยะหลังคลอดที่มีการติดเชื้อได้อย่างถูกต้อง
หญิงหลังคลอดปฏิบัติตนเกี่ยวกับ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อได้อย่าง
กิจกรรมการพยาบาล
การพยาบาลหญิงหลังคลอดที่มีการติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ
การพยาบาลหญิงหลังคลอดที่มีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
การพยาบาลหญิงหลังคลอดที่มีการอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน
มดลูกกลับสู่สภาพปกติช้า (Subinvolution of uterus)
สาเหตุ
ความตึงตัวของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี ได้แก่ มารดาครรภ์หลัง ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
มีเศษรก หรือเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
มีการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก
มารดาหลังคลอดที่ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ในรายที่มีมดลูกคว่ าหลัง หรือคว่ าหน้ามากจนท าให้น้ าคาวปลาไหลไม่สะดวก
ในรายที่มีเนื้องอกของมดลูก ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เช่น Fibroids
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง มักวินิจฉัยได้เมื่อมาตรวจหลังคลอด 4 - 6 สัปดาห์ โดยให้ประวัติถึง อาการผิดปกติในระยะคลอดหรือมีภาวะเลือดออกมากหรือตรวจพบ ยอดมดลูกยังสูงกว่าระดับกระดูกหัวหน่าวสัมผัสนุ่ม ระดับยอดมดลูกไม่ลดต่ าลง น้ าคาวปลา สีไม่จางลงภายใน 2 สัปดาห์หลังคลอด อาจมีตกขาว และปวดหลังร่วมด้วยถ้ามีการติดเชื้อ ในโพรงมดลูก
การรักษา
ให้ยาช่วยการบีบตัวของมดลูก นิยมให้ methergin 0.2 มิลลิกรัม
ให้ยาปฏิชีวนะถ้ามีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
ถ้าให้ยาบีบตัวของมดลูกไม่ได้ผล
กิจกรรมการพยาบาล
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวก่อนวัดระดับยอดมดลูก
แนะนำวิธีที่ทำให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก
ปัญหาหัวนมและเต้านม
หัวนมแตก หรือเป็นแผล
สาเหตุ
Colostrum ที่ถูกบีบออกมา
ทารกดูดนมแรงและนานเกินไป
การให้บุตรดูดเฉพาะหัวนมโดยไม่ได้ให้เหงือกของทารกกดลงบนลานนม
การให้บุตรดูดนมแต่ละครั้ง เริ่มให้ข้างเดียวกันตลอด
การดึงหัวนมออกจากปากบุตรไม่ถูกวิธ
ปล่อยให้หัวนมเปียกชื้นอยู่ตลอด
การรักษา
ทายาเพื่อช่วยให้แผลหายดีขึ้น เช่น kamillosan cream , unquentum boric acid , lanolin
เป็นต้น
กิจกรรมการพยาบาล
แนะน าการท าความสะอาดหัวนมและเต้านมด้วยการอาบน้ าธรรมดา ไม่ฟอกสบู่
แนะน ามารดาให้ทารกดูดนมข้างที่เจ็บน้อยก่อน จะช่วยให้เกิด letdown reflex และทารกไม่ดูดแรงมาก
แนะนำให้มารดาอุ้มบุตรให้นมในท่าที่ผ่อนคลาย
แนะนำวิธีให้นมบุตร โดยให้บุตรอมหัวนมให้มิดและให้ลิ้นอยู่ใต้ลานนม
หลังการให้ทารกดูดนมแต่ละครั้ง ควรเช็ดหัวนมให้สะอาดเพื่อป้องกัน
มีรายงานว่า ถ้าใช้น้ านมทา คือบีบน้ านมออกเล็กน้อยแล้วทาหัวนมและรอบ ๆ
ถ้าเป็นรุนแรงอาจให้ทารกดูดนมโดยใช้ nipple shield ครอบหัวนมไว้และให้ทารกดูดหัวนม
ดูแลผิวหนังบริเวณหัวนมและเต้านมให้ชุ่มชื้น ด้วยการทาครีมลาโนริน
การติดเชื้อของเต้านม (Mastitis)
สาเหต
การติดเชื้อของเต้านมส่วนมาก ที่พบบ่อยที่สุดเกิดจากเชื้อstaphylococcus aureus เชื้อเข้า ทางบาดแผลหรือหัวนมที่แตก โดยมิได้ระมัดระวังเกี่ยวกับเทคนิคปราศจากเชื้อ เช่น ไม่ได้ล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสเต้านม หรือจากการติดเชื้อที่อยู่ภายในจมูก และล าคอทารก จะท าให้เชื้อแพร่กระจายไปยังเต้านมได้
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดงพบ บริเวณเต้านมแดง ร้อน แข็งตึงใหญ่ ปวดเต้านมมาก กดเจ็บ มีการคั่งของน้ านม น้ านมออกน้อยลง มีไข้สูง 38.3 - 40 องศาเซลเซียส
การรักษา
ตรวจดูอาการและอาการแสดง ส่งเพาะเชื้อจากน้ านมและหัวนม
ให้ยาแก้ปวด
ถ้ามีหนองเกิดขึ้นให้ท า incision and drainage
เมื่อแผลที่หัวนมหายเป็นปกติ ก็เริ่มให้บุตรดูดนม หรือปั๊มน้ำนมได้
การพยาบาล
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้อ ใช้ความร้อนเป่า (อาจใช้ที่เป่าผม
เป่าก็ได้)หรืออบเพื่อช่วยให้การไหลเวียนของเลือดและน้ านมดี ลดความเจ็บปวด
แนะน าการสวมเสื้อชั้นใน หรือพันผ้า (supporting binder) ช่วยพยุงเต้านม ต้อง
ระวังไม่พันผ้าแน่นหรือสวมเสื้อชั้นในคับเกินไป จะยับยั้งการผลิตน้ านม
ลดความกลัว ความวิตกกังวล ให้ก าลังใจ โดยอธิบายให้ทราบถึง การปฏิบัติตน ที่
ถูกต้องเมื่อมีภาวะติดเชื้อของเต้านม
แนะน าการท าความสะอาดหัวนมให้เพียงพอ และให้ทารกดูดนมอย่างถูกต้องในข้างที่ปกติ
ดูดนมข้างที่มีการติดเชื้อ จนกว่าการอักเสบจะหาย
ภาวะแปรปรวนทางจิตหลังคลอด (Postpartal psychiatric disorder)
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues , Maternal or baby blues)
สาเหตุส่งเสริม
การตั้งครรภ์และการคลอด โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์แรก
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ
ความเครียดทางจิตใจในระยะหลังคลอด
ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
หญิงหลังคลอดที่มีแนวโน้มในการเกิดภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ร้้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ มีความรู้สึกวิตกกังวลท้อแท้ ตื่นเต้น ความรู้สึกไว เงียบขรึม มีอารมณ์เศร้า
เหงา สับสน อารมณ์รุนแรง สีหน้าไม่สุขสบาย อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
การพยาบาล
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลบุตร และตนเองในระยะหลังคลอด
ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะคู่สมรสช่วยให้ก าลังใจ
คอยสังเกตและบันทึกอาการด้านอารมณ์ของมารดาหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
สาเหตุส่งเสริม
มารดาหลังคลอดครรภ์แรก
มารดาที่มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ์
ขาดการประคับประคองจากญาติ คู่สมรส หรือสังคม
ขาดสัมพันธภาพกับบิดา มารดา หรือ คู่สมรส
มีความรู้สึกขาดความพึงพอใจในตนเอง
มีความเครียดทางจิตใจ เช่น ปัญหาชีวิตสมรส การตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา
ประสบการณ์การคลอดล าบาก การบาดเจ็บจากการคลอด หรือมีปัญหาในระยะหลังคลอด
มีความเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความกังวลในการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเศรษฐกิจ
มีประสบการณ์จากการคลอดในครรภ์ก่อน ๆ ไม่ดี เช่น บุตรเสียชีวิตทุกคน
อาการและอาการแสดง
มีอารมณ์และความรู้สึก ท้อแท้ สิ้นหวัง มองโลก ในแง่ร้าย หดหู่ หม่นหมอง วิตกกังวล รู้สึกไร้ค่าไม่มีความหมาย ไม่มีคนต้องการ และจะมีอาการแสดงออกทางด้านร่างกายได้แก่ ซึมเศร้าอย่างรุนแรง ร้องไห้ถี่ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ไม่มีสมาธิ ไม่สนใจตนเอง
การรักษา
โดยการให้ยา เช่น Isocarboxazind ( Marplan )
การรักษาทางจิต แบบรายบุคคล หรือรายกลุ่ม
การใช้กลุ่มช่วยในการรักษา
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สนับสนุนและสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่หญิงหลังคลอด
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
สาเหตุส่งเสริม
มารดาที่มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนการตั้งครรภ์
มีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวด้วยโรคทางจิตเวช
มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย
มารดาที่มีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น manic-depressive
มารดาที่มีภาวะเครียดจากการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีอาการรุนแรงทันที ได้แก่ รู้สึกยุ่งยากใจ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สับสน ไม่มีเหตุผล สมาธิสั้น ความจ าเสีย
การรักษา
การรักษาทางกาย ได้แก่ การให้ยา antipsychotics และยา sedative , การช็อคไฟฟ้า
การรักษาทางจิต ได้แก่ การท าจิตบ าบัด
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การให้มีการสนับสนุนทางสังคม
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับความต้องการพื้นฐานประจ าวัน ได้แก่ สุขภาพอนามัย ความสะอาด
ให้ความเป็นกันเอง ความใกล้ชิด เพื่อให้มารดาเกิดความไว้วางใจ อบอุ่น ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว
รับฟังหญิงหลังคลอดให้ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมและกระตุ้นให้เข้ากลุ่มจิตบ าบัด