Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแจ้งข่าวร้าย และการดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะสุดท้ายของชีวิต, นางสาวธนภรณ์…
การแจ้งข่าวร้าย และการดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะสุดท้ายของชีวิต
ข่าวร้าย
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง
ผลกระทบ
ความรู้สึก
การดำเนินชีวิต
อนนาคต
เช่น
ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
การกลับเป็นซ้ำ
ความพิการ
การสูญเสียภาพลักษณ์
เป็นโรคที่รักษาไม่หาย
การเสียชีวิต
ผู้แจ้งข่าวร้าย
แพทย์เจ้าของไข้
ทีมรักษาผู้ป่วย
ทีม Palliative care
ความพร้อม
ดูแลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์
ฝึกฝนและมีประสบการณ์วิธีการแจ้งข่าวร้าย
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา
ผลการรักษาและการดำเนินโรค
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ปฏิกิริยาการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะปฏิเสธ
ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ไม่เชื่อ
ไม่ยอมรับความจริง
ไม่เชื่อผลการรักษา
ระยะโกรธ
อารมณ์รุนแรง
ก้าวร้าว
ต่อต้าน
ระยะต่อรอง
รู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำบางอย่างที่ค้างคา
ระยะซึมเศร้า
ออกห่างจากสังคม
มีความบกพร่อง
กิจวัตรประจำวัน
หน้าที่การงาน
ระยะยอมรับ
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น
ปรับตัว
บทบาทพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี
ประเมินการรับรู้
สอบถามความรู้สึก
สอบถามความต้องการการช่วยเหลือ
รับฟัง
ตั้งใจ
เห็นใจ
เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ประคับประคองจิตใจ
ยอมรับพฤติกรรมทางลบ
ไม่ตัดสิน
ให้โอกาสระบายความรู้สึก
ให้ความเคารพ
เข้าใจ
เห็นใจ
ไวต่อความรู้สึก
ปรึกษาแพทย์
ข้อมูล
การดำเนินโรค
แนวทางการรักษา
อธิบายสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การดำเนินโรค
อาการที่เปลีี่ยนแปลง
ความหวัง
การเป็นอยู่ปัจจุบัน
ให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิต
จัดการอาการที่รบกวนผู้ป่วย
ให้ความมั่นใจ
ผู้ป่วย
ญาติ
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วย
เรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์
ปกป้องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมตัดสินการรักษา
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
Professional culture
มุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
ความคาดหวัง
มีความคาดหวังสูงที่จะดีขึ้นจากภาวการณ์เจ็บป่วยที่รุนแรง
ความไม่แน่นอนของอาการ
Multidisciplinary team
ทีมแพทย์ที่ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า 1 สาขา
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ทรัพยากรมีจำกัด
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไปซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้นๆ มาร่วมดูแลผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
แบบผสมผสาน
องค์ประกอบ
การสื่อสาร
ควรมีแผ่นพับแนะนำครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทำการประชุมครอบครัว
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
การฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
มีความเห็นใจ
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนผู้ป่วยมากกว่าโรค
ปล่อยให้มีช่วงเงียบ
บอกการพยาการณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด
การจัดการอาการไม่สุขสบาย
การใส่ใจประเมินอาการ
จัดการอาการไม่สุขสบาย
หอบเหนื่อย
ปวด
ภาวะสับสน
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
Surprise question
การประชุมครอบครัว
รู้จักตัวตนของคนไข้
ทำการฟังอย่างตั้งใจ
ผู้นำการประชุมครอบครัวทำการเล่าอาการให้ฟัง
ในช่วงนี้ญาติจะพยายามต่อรอง
เตือนให้ญาติคำนึงถึงความปรารถนาของผู้ป่วย
ควรให้ญาติร้องไห้โดยไม่ขัดจังหวะ
ควรทำการสะท้อนอารมณ์ของญาติเป็นระยะๆ
เน้นย้ำญาติว่าแผนการรัการทั้งหมดเป็นการตัดสินใจ
ทีมสุขภาพ
ครอบครัว
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
พิจารณาย้ายผู้ป่วยไปยังที่สามารถเข้าเยี่ยมได้ใกล้ชิด
สงบ
มีความเป็นส่วนตัว
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง
แสดงให้เห็นว่าการเสียใจกับการสูญเสียเป็นสิ่งปกติ
เอกสารคำแนะนำการดูแลร่างกายและจิตใจผู้สูญเสีย
ไม่ควรพูด
ไม่เป็นไร
ไม่ต้องร้องไห้
นางสาวธนภรณ์ ปิ่นแก้ว 6001210354 เลขที่ 19 Sec.B