Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
บทที่ 2
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ
1. ยาโคลิเนอร์จิก (Cholinergic Drugs)
อกกฤทธิ์คล้ายการกระตุ้นระบบ
ประสาทพาราซิมพาเทติก
กลไกการออกฤทธิ์ 2 ประเภท
ทางตรง
ออกฤทธิ์กระตุ้น Cholinergic receptor
(Musscarinic และ Nicotinic receptor)
ทางอ้อม
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์
Acetycholinesterase (AChE)
Cholinergic agonist
Ach
ไม่นำมาใช้รักษาได้
ฤทธิ์กระจายมากและออกฤทธิ์สั้น
เนื่องจากถูกทำลายด้วย AChE
เกิดการสังเคราะห์ Choline ester
Carbachol
Bethanechol
กลไกการออกฤทธิ์
: กระตุ้นที่ Muscarinic
และ Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะ
เพิ่มการบีบตัวของท่อปัสสาวะ
กล้ามเนื้อปัสสาวะหดตัว (detrusor muscle)
การคลายตัวของเนื้อหูรูด
และ trigone ของกระเพาะอาหาร
ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่ง
น้ำลายและกรดในกระเพาะอาหาร
ต่อมในตับอ่อนและลำไส้เล็ก
กระตุ้นกล้ามเนื้อทางเดินอาหารบีบตัว และ
กล้ามเนื้อ sphincter ต่างๆ คลายตัวให้อาหารเคลื่อนผ่านได้
ระบบหายใจ
ต่อมในหลอดลม หลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น
ถ้ากระตุ้นมาก เกิดอาการคล้ายหืด (asthma)
กล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดหดตัว
ฤทธิ์ต่อตา
ม่านตาหรี่ (miosis) ผลจากการหดตัว
ของกล้ามเนื้อ sphincter muscle ของ iris
ลดความดันในเบ้าตา
ระบบไหลเวียนเลือด
หลอดเลือดขยายตัว
ลดความดันโลหิต
สาร Muscarinic agonist ลดความต้านทาน
หลอดเลือดส่วนปลาย
ลดการเต้นของหัวใจ
ระบบประสาทส่วนกลาง
: กระตุ้นสมอง
ส่วน cortex มีบทบาทเกี่ยวกับการรับรู้
ความอยากอาหาร
ความปวด
การเคลื่อนไหว
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษา
ต้อหิน
เฉียบพลัน (glaucoma)
ยา pilocarpine
ฤทธิ์กระตุ้นม่านตารี่
ลดความดันในลูกตา
ในการเตรียมก่อนผ่าตัดตา
รักษาท้องอืด ไม่ถ่าย
ยา Bethanechol กระตุ้นการบีบตัว
เพิ่มแรงบีบ การขับเคลื่อนอาหารในทางเดินอาหาร
โรคกรดไหลย้อน
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ Bethanechol ใช้รักษาอาการปัสสาวะไม่ออกจากหัตถการผ่าตัดจากการคลอดบุตร
อาการข้างเคียง
และความเป็นพิษ
Bethanechol และ pilocarpine (เม็ด)
อาเจียน
มึนเวียนศีรษะ คล้ายเป็นลม
pilocarpine แบบหยอด
ตามัว ระคายเคือง
น้ำตาไหล
ข้อห้ามใช้
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ยากระตุ้นหลั่งกรดและน้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยละไส้อุดตัน นิ่วทางเดินปัสสาวะ
ก่อให้เกิดอันตราย
โรคหืด / ปอดอุดกั้นเรื้อรัง
จะทำให้หลอดเลือดหดตัว
Anticholinesterase agent
(cholinesterase inhibitors)
ฤทธิ์ทางเภสัช
ผลต่อ muscarinic receptor
คล้ายกับ Cholinergic
กล้ามเนื้อเรียบและต่อมของกระเพาะอาหาร
ทางเดินอาหาร ปัสสาวะ หายใจ ตา
มีผลรุนแรง มีผลต่อระบบไหลเวียนเลือด
ทำให้หัวใจเต้นช้า cardiac output , BP ลดลง
ผลต่อ nicotinic receptor
ผลต่อกล้ามเนื้อลาย
การบีบตัวของใยกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อมีอาการสั่นพริ้ว
อาการนำไปใช้ทางคลินิก
รักษาโรค Myasthenia gravis (MS) แขน ขาอ่อนแรง
ยา Edrophonium ออกฤทธิ์สั้น ใช่วินิจฉัย
ยา edrophonium เข้าทางเม็ดเลือดดำ
ถ้าผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อลาย จะกลับทำงานชั่วขณะ
ยา Pyridostigmine ช่วยเพิ่ม Ach
ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงดีขึ้น
หยุดฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่ม comprtitive antagonist
ให้หายใจปกติเร็วขึ้นหลังผ่าตัด คือ ยา Neostigmine และ Pyridostigmine จะให้ Atropine ล่วงหน้า เพื่อลดผลคข้างเคียง
ยา Neostigmine รักษาลำไส้
กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
รักษา Alzheimer's disease บำรุงความจำ
เช่น donepezil , galantamine และ rivastigmine
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับเอนไซม์ชั่วคราว " reversible "
pyridostigmine
มีฤทธิ์สั้น ใช้ทางการแพทย์ได้
neistigmine
edrophonium
จับกับเอนไซม์ถาวะ " irreversible "
: organophosphate compounds
ยาฆ่าแมลง เช่น parathion พิษต่อร่างกาย
เอนไซม์ AChE ที่ถูกยับยั้ง จะมี activity ใหม่
ต่อเมื่อมีการสังเคราะห์ขึ้นมาใหม่
ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานเอนไซม์ AChE เป็นเอนไซม์ทำลาย Ach
ผลทำให้ Ach ไม่ถูกทำลาย จึงไปกระตุ้น cholinergic receptors มาก
ทั้ง central และ peripheral nervous system
อาการข้างเคียง และความเป็นพิษ
organophosphate เกิดอาการพิษ คือ
รูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก หัวใจเต้นช้า
รักษาโดยให้ยาต้านพิษ คือ Atropine
และ praklioxime เพื่อยับยั้ง Muscarinic effect
4. ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์
(Adrenoceptor blacking drungs)
2. β - adrenergic antagonists (β - blocker)
ฤทธิ์ทางเภสัช เช่น calcium blocker
กระตุ้นการสร้าง nitric oxide (NO)
ความจำเพาะ ต่อ receptor subtype ออกฤทธิ์ในการยับยั้งที่ β - receptor ทำให้ β - adrenergic antagonists ออกฤทธิ์ไม่ได้
Non - seclective β - blocker
ลดอาการใจสั่น มือสั่นในผู้ป่วยไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ
ลดอาการตื่นเต้นได้ง่าย
รักษาความดันโลหิตสูง ลดการกระตุ้นหัวใจ
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Propranolol ยับยั้ง β1 และ β2 receptor ดูดซึมดีมาก
seclective β - blocker
รักษาความดันโลหิตสูง
ลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Metoprolol และ Atenolol
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปิดกั้นตัวรับ β ที่หัวใจและหลอดเลือดและ atrioventricular block
Propranolol ทำให้หัวใจเต้นช้า
ระบบหายใจ : หลอดลมตีบแคบ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบประสาท : ปวดศีรษะ วิงเวียน เหนื่อยล้า
เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นหัวใจช้ากว่า 45 ครั้ง/นาที
ป้องกันไมเกรน รักษาผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ
1. α - adrenergic antagonists
ได้แก่ Prazosin , Doxazosin
ลดความดันโลหิตได้ดี รวดเร็ว ทำให้กล้ามเนื้อเรียบ
ที่ต่อมลูกหมาก ท่อปัสสาวะคลายตัว
รักษาโรคต่อมลูกหมากโต
เกิดการคลายตัวกล้ามเนื้อเรียบ ลดความต้านทาน
ของเม็ดเลือดแดง ผนังหลอดเลือดขยาย
Selective α1 - antagonists ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α1 - receptor
ที่อยู่ภายในเซลล์ กล้ามเนื้อเรียบ ผนังหลอดเลือดหัวใจ ต่อมลูกหมาก
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ : การที่ความดันโลหิตต่ำ ขณะเปลี่ยนท่า
การทำงานของระบบประสาทอัติโนมัติ
1.ระบบประสาทซิมพาเทซิก
เพิ่ม Cardiac output หลอดลมขยาย
การทำงานของระบบทางเดินอาหารลดลง
ต่อสู้ / ถอยหหนี (Fight or Fight)
เพิ่มการใช้พลังงาน ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
2.ระบบประสาทพาราซิมพาเทซิก
: พักผ่อน / ย่อยอาหาร (Rest or Digest)
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ หลอดลมตีบแคบ
กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสาวะบีบตัว
เพิ่มการหลั่งกรด น้ำย่อย
2. ยาต้านมัสคารินิค (Antimuscarinic Drung)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินหายใจ
ขยายหลอดลม ยับยั้งการหลั่งของสารตัดหลั่ง
ลดหดเกร็งของหลอดลมจากสารต่างๆ
เช่น histamine , bradykinin
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ทำให้ผู้สูงอายุปัสสาวะลำบาก
รวมถึงกล้ามเนื้อเรียบมดลูก
ลดความตึงตัวและความแรงในการบีบตัว
ของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
2.ระบบทางเดินอาหาร
ปิดกั้น muscarimic receptors ทำให้
parasympathetic tone ที่ระบบทางเดินอาหารลดลง
ลดการบีบตัวของหลอดอาหารจนถึงลำไส้ใหญ่
ลดความแรงและการขับเคลื่อนของกรพเพาะอาหารและลำไส้
ต่อมเหงื่อ
อุณหภูมิสูงขึ้น " Atropine fever "
atropine ขับเหงื่อน้อยลง
ไม่สามารถระบายความร้อนทางเหงื่อได้
ระบบตา
กล้ามเนื้อเรียบ iris sphincter และ ciliary muscle
ไม่หดตัวได้ทำให้ม่านตาขยาย
ไม่สามารถคุมเลนส์ให้มองชัดได้
และทำให้ความดันในลูกตาสูง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว เนื่องจาก
ลด parasympathetic tone
atropine ทำให้หลอดเลือดขยายตัว คือ หลอดเลือดใต้ผิวหนัง
ทำให้ผิวหนังร้อน แดง " Atropine flush "
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยาขยายหลอดลม เช่น ยา lpratropium bromide
สูดพ่นเข้าทางเดินหายใจ ในผู้้ป่วย COPD และโรคหืด
6.ยาเตรียมก่อนผ่าตัด ยับยั้งการหลั่งกรดน้ำย่อย น้ำลาย สารคัดหลั่ง ในระหว่างวางสลบ
ทำให้รูม่านตาขยาย ใช้หยอดตตาก่อนตรวจตา โรคต้อหินห้ามใช้
เช่น atropine , homatropine และ tropicamide
7.รักษาโรคพาร์กินสัน รักษาอาการเกร็งกระตุกกล้ามเนื้อ ยาลด ACh ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัว
เช่น ยา benztropine , trihexyphenidyl
รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกิน
ได้แก่ Oxybutynin เป็น selective M3 amtagonist , Oxyphencyclimine
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
Atropine ใช้ในผู้ป่วยที่หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ
2.ใช้เป็น Antispasmodics ลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบ
ในช่องท้อง ใช้รักษาโรคอาการท้องเดิน ลำไส้แปรปรวน
ยา ได้แก่ Hyoscine - N - butyl bromide
รักษาอาการเมาคลื่น
รักษาภาวะสมดุลของการทรงตัว
ยาปิดกั้น M1 receptors
ยาที่ลดอาการคลื่นไส้อาเจียน
scopolamine แผ่นแปะ มีฤทธิ์สั้น
Antisecretory รักษาโรคแผลกระเพาะอาหารและลำไส้
ยาต้านพิษ ที่เกิดจาก organophospate คือ Atropine
กลไกการออกฤทธิ์
การจับ Muscarinic receptors แบบแข่งขัน
ทำให้ยามีผลลด parasympathetic tone ในร่างกาย
ตอบสนองต่อฤทธิ์ยา ได้แก่ ต่อมต่างๆ
เช่น ต่อมเหงื่อ น้ำลาย สารคัดหลั่งทางเดินหายใจ
Atropine เป็น muscarinic antagonists
ออกฤทธิ์แย่งที่กับ Ach
อาการข้างเคียง
: anticholinergic รุนแรงมาก
เช่น ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัว
3. ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
(Adrenergic drugs)
ยากลุ่ม Sympathomimetics แบ่ง 4 กลุ่ม
2. Alpha adrenergic agonist receptor (α - agonist)
Alpha - 1 agonist
Phenylephrine
แบบรับประทาน / แบบพ่นจมูก
เป็นยาหยอดขยายม่านตา
เพิ่มแรงต้านในหลอดเลือดและเพิ่มความดันโลหิต
บรรเทาอาการคัดจมูก ถ้าใช้บ่อยเกิดการดื้อยาและเบื่อโพรงจมูกบวม
ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α 1 - receptor
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว
Midodrine
ออกฤทธิ์นาน 3- 4 ชั่วโมง
ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการ postural hypotention
หรือ เปลี่ยนท่าแล้วหน้ามืด
ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α 1 - receptor
ทำให้หลอดเลือดหดตัว ส่งผลให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
Alpha - 2 agonist
: Clonidine
ลดการหดตัวและความต้านทานของหลอดเลือด
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตสูง
รักษาอาการขาดเหล้า/ถอนพิษสุรา
เฮโรอีนและมอร์ฟีน ลดอาการซิมพาเทติกที่เพิ่มขึ้น
เนื่องจากหยุดยาเสพติดได้
รักษาร้อนวูบวาบสตรีในวัยหมดประจำเดือน
ใช่ร่วมกับยาอื่นในการระงับปวดจากมะเร็ง
ชนิดรับประทานและแผ่นแปะผิวหนัง
ใช้เป็นยาลดความดันโลหิต
3. ฺBeta - adrenergic agonist
β3 adrenergic agonist
: Mirabegron
กล้ามเนื้อปัสสาวะคลายตัว
รักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
β2 adrenergic agonist
2. ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว (LABAs)
formoterol
รักษาทั้งระยะเฉียบพลับและระยะยาว
ใช้ในโรคหืด และ COPD
ออกฤทธิ์เร็วกว่า
ป้องกันอาการหืดตอนออกกำลังกาย
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
กระตุ้น β - receptor ในผู้เป็นโรคหัวใจอยู่ มีความเสี่ยง
อาการใจสั่น กระวนกระวาย หัวใจเต้นเร็ว
Salmeterol
บรรเทาอาการหืด
มี onset ช้าหลายชั่วโมง
1. ยาขยายหลอดลมชนิด
ออกฤทธิ์สั้น (SABA)
Salbutamol
ยับยั้งมดลูกบีบตัว
ใช้ในการชะลอ / ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ออกฤทธิ์ 15 นาที
Terbutaline
ออกฤทธิ์ 1 ชั่วโมง
ใช้แบบยาพ่น บรรเทาอาการ COPD
รักษาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน และเพื่อขยายหลอดลม
จำเพาะ ต่อ β2 - receptor ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมคลายตัว
1. กลุ่ม catecholamines
Epinephrine (Adrenaline)
การนำไปใช้ทางคลินิก
2.ภาวะแอนาฟิแล็กซิส
: แพ้รุนแรงเฉียบพลัน แพ้ยา สาร
3.ใช้เพื่อห้ามเลือด
1.ภาวะหัวใจหยุดเต้น
4.ใช้ยาชาเฉพาะที่
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นสาร agonist ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้ง α ( α1 และ α 2)
และ β (β 1 และ β 2) receptor
ถูกทำลายรวดเร็วโดย MAO และ COMT
ให้รับประทานไม่ได้
Norepinephrine / Noradrenaline
กระตุ้นที่ α 1 มากกว่า β1 receptor
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่ม cardiac output
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตต่ำรุงแรง
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสโลหิต
Dopamine ; DA
(Dopaminex , Dopmin , Intropin)
เป็น Neurotransmitter ในสมอง
เมื่อถูกเทตาบอไลท์ ได้ norepinephrine และ epinephrine
ออกฤทธิ์ต่อ receptor ต่างกัน
DA ขนาดปานกลาง
กระตุ้น β1 receptor เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
DA ขนาดสูง
กระตุ้น α1 receptor หลอดเลือดหดตัว
DA ในขนาดต่ำ
กระตุ้น D1 - receptors เกิด vasodilation ของหลอดเลือดในไต หลอดเลือดในหัวใจ coronary
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
4.ผลต่อเมแทบอลิซึม
เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด
เพิ่มการสลายเนื้อเยื่อไขมัน ผ่าน β2 - β3 receptor
เพิ่มการสลาย glycogen และ สร้าง glucose จาก lipid และโปรตีนผ่าน α1 , β2 receptor
เพิ่ม free fatty acid
5.ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ
เพิ่มการหลั่ง glucagon ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
ตับอ่อนลดการหลั่ง insulin ผ่าน α2 receptor
3.ผลต่อกระตุ้นหัวใจ
เพิ่มอัตราการเต้นและแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ
เพิ่มความเร็วในการส่งสัญญาณไฟฟ้าที่ AV node โดยผ่าน β1 - receptor
6.ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง : ตื่นตัวและลดความอยากอาหาร
2.ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ
กระตุ้นผ่าน β2-receptor หลอดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อลายขยาย
เกิดการคลายตัวของหลอดลม ทางเดินอาหารและกล้ามเนื้อมดลูก
ผลต่อตา
การกระตุ้น α receptor ที่ radial muscle ของม่านตา
ทำให้กล้ามเนื้อหดตัว ทำให้ม่าตาขยาย
ผลต่อ β receptor เพิ่มการสร้างน้ำลูกตา
1.ระบบไหลเวียนโลหิต
ได้แก่ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงผิวหนัง อวัยวะภายใน ไต และเยื่อเมือก
กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดให้หดตัว ผ่าน α1 receptor
Dobutamine
กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ เพิ่ม cardiac output
ไม่มีผลต่อ D1 receptors ที่ไต
ออกฤทธิ์กระตุ้น β1 receptor ฤทธิ์ต่อ α - receptor มีน้อย
ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ประโยชน์คลิกนิกเช่นเดียวกับ DA
มีฤทธิ์ α1 และ β agonist
4. Indirect - actingg
and mixed - type adrenergic agonist
Ephedrine & pseudoephedrine
Ephedrine ไม่ใช้ทางคลินิกแล้ว
pseudoephedrine
ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ออกฤทธิ์ยาโดยทางอ้อม เพิ่มการปลดปล่อยสาร catecholamine
กระตุ้นที่ receptor ได้โดยตรง
ใช้เป็นยาลดน้ำมูกและคัดจมูก
ประโยชน์ทางคลินิก
ของยากลุ่ม Sympathomimetics
ภาวะช็อก
α - adrenergic receptor : เพิ่มความดันโลหิต
β - adrenergic receptor : กระตุ้นแรงบีบตัว อัตราการเต้นหัวใจ
Dopamine : เพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไต
Anaphylaxis : ยา epinephrine
ใช้ร่วม β2 agonist ขยายหลอดลม
ภาวะหัวใจหยุดเต้น เพิ่มความดันโลหิตและเลือดไปเลี้ยงหัวใจ
4.Asthma & COPD ขยายหลอดลม ยาในกลุ่ม β2 agonist receptor
Glaucoma ช่วยลดความดันลูกตา ลดการผลิตน้ำในลูกตา
Antihypertensive เช่น clonidine ช่วยลดความดันโลหิต
7.ลดการคั่งบวมของเนื้อเยื่อในจมูก
อื่นๆ เช่น คลายกล้ามเนื้อปัสสาวะ
ออกฤทธิ์โดยตรง กระตุ้น adrenergic receptors
ร่วมกับการกระตุ้นการหลัง NE ออกจากปลายประสาท และผ่านเข้าสมองได้ดี
Amphetamine
: ยาเสพติด
ประเภทที่ 1
กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูง
ออกฤทธิ์โดยตรงและอ้อม
มีการหลั่ง NE ออกจากปลายประสาท ทำให้รับประทานได้นาน ฤทธิ์อยู่นาน
เพิ่มความดันโลหิต หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ผลต่ออารมณ์ จิตใจ เพิ่มความตื่นตัว ครื้นเครง
เกิดอาการติดยา ต้องเพิ่มขนาดเรื่อยๆ
การแบ่งประเภท ของ Adrenergic receptors
β2
พบที่กล้ามเนือ้เรียบของหลอดเลือด หลอดลม ทางเดินปัสสาวะ
และมดลูก ถูกกระตุ้นเกิดการคลายตัว กล้ามเนื้อลายเกิดการสลายไกลโคเจน
β1
พบที่หัวใจ ถูกกระตุ้น
จะเพิ่มแรงบีบตัวอัตราการเต้นของหัวใจ
β3
พบที่เซลล์ไขมัน ถูกกระตุ้นเกิดการสลายไขมัน
α1
พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
ทางเดินปัสสาวะ และมดลูก เกิดการตอบสนองแบบหดตัว
ยกเว้น :!!: ระบบทางเดินอาหาร ยับยั้งการเคลื่อนไหว
α2
ที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื้อเยื่อต่างๆ ในสมองกระตุ้นยับยั้งการหลั่งของ NE
สารสื่อประสาทและตัวรับ
ในระบบประสาทอัติโนมัติ
1. ระบบประสาทซิมพาเทติก
" Adrenergic agents "
Noradrenaline (NE)
จับกับตัวรับ "Adrenergic receptor" Alpha (α) และ Beta (β)
3. ระบบโซมาติก
จะมีเส้นประสาทไปยังกล้ามเนื้อลาย
หลั่ง Ach ออกฤทธิ์ที่ Nocotinic receptors
2.ระบบประสาทพาราซิมมพาเทติก
" Cholinergic agents "
Acetylcoline (ACh)
จับกับตัวรับ " Cholinergic receptor "
มี Muscarinic (M) และ Nicotinic receptor (N)