Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวสิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์ เลขที่ 38…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
การจําแนกประเภทของทารกแรกเกิด
การจําแนกตามน้ำหนัก
Low birth
weight infant
น้ําหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
Normal birth
weight infant
น้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ 3,800 – 4,000 กรัม
ร้อยละ 60 ของทารกที่เสียชีวิตในระยะ 28 วันแรก
มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
การจําแนกตามอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดครบกําหนด
คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์-41 สัปดาห์
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
แบ่งออกเป็น
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ
เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบิน มากกว่าผู้ใหญ่
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ
เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมาก ผิดปกติ
และเหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อนำดีอุดตัน
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
เกิดจากบิลลิรูบิน ในเลือดสูงกว่าปกติ
อาจจะทำให้เกิดภาวะ Kernicterrus
อันตรายจากการมีบิลิรูบินสูง
ทำให้เกิด kernicterus เข้าสู่เซลล์สมองและทำให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาททำให้ทารกมีความพิการของสมองเกิดขึ้นอย่างถาวร
การวินิจฉัย
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
มารดามีโรคประจำตัวการได้รับยา การติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหหรือไม่ มีจุดเลือดออก บริเวณใดหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การส่องไฟ
ภาวะแทรกซ้อนของ
การรักษาด้วยการส่องไฟ
Increases metabolic rate พบว่าทารกอาจมีน าหนักตัวลดลง
Increased water loss / dehydration ทารกมีภาวะ
เสียน้ำมากจากการระเหยของน้ำ
Diarrhea ทารกอาจถ่ายเหลวจากการที่แสงที่ใช้ในการรักษา
Retinal damage ถ้าไม่ได้ปิดตาทารกให้มิดชิด
Bronze baby /tanning ทารกอาจจะมีสีผิวคล้ำขึ้นจากการที่ต้องถูกแสงอัลตราไวโอเลตเป็นเวลานาน
Disturb of mother-infant interaction ควรให้มารดาเป็นผู้ป้อนนมแก่ทารกเพื่อใช้ช่วงเวลาให้นมเป็นการสร้างสัมพันธภาพ
Thermodynamic unstable ทารกอาจมีอุณหภูมิร่างกายสูงหรือต่ำกว่าปกติ
non-specific erythrematous rash อาจมีผื่นขึ้นตามตัวเป็นการชั่วคราว
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่่ำและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชม.เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ ในระยะห่างจากหลอดไฟ ประมาณ 35-50เซนติเมต
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การพยาบาล
Exchange transfusion
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
บันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ
ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
การดูแล
ในภาวะเสี่ยง ตรวจหาระดับน้ำตาลภายใน 1-2 ชม. หลังคลอด
และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม. แรกหรือจนระดับน้ำตาล
จะปกติรีบให้ 5,10 %D/W ทางปาก/ NG tube
ใน 1-2 มอื้แรกแล้วให้นม
น้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจตดิตามทุก 30 นาทีในรายไม่แสดงอาการ ให้กนินม หรือสารละลายกลูโคส ถ้ากินไม่ได้ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
การรักษา
ทารกครบกำหนด
มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.
ให้สารละลายกลูโคสทาง หลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาที
ถ้าน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
25-40 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3ชั่วโมง ติดตาม
ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
35-45 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ถ้าน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
อาการ
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเน้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
น้ำคร่ำขณะที่ทารกอยู่
ในครรภ์เกิดได้ 2 ลักษณะ
ลักษณะทางพยาธิสรีรวิทยาปกติที่เกิดจากการเคลื่อนตัว
ของลำไส้ที่พัฒนาสมบูรณ์แล้วของทารก ในครรภ์
ลักษณะความผิดปกติทางพยาธิสภาพของรกและทารก
ในครรภ์ที่ตอบสนองต่อความเครียดที่เกิดจากความผิดปกติ
ความรุนแรง
แบ่งได้เป็น 3 ระดับ
อาการรุนแรงน้อยทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสนั้ๆ เพียง24-72 ชม.
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้นมีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสงูสดุเมื่ออายุ 24 ชม.
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทนัที
หรือภายใน 2-3 ชม. หลังเกิด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชม. เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลตามอาการ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทางโภชนาการ
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ทารกแรกเกิดหลังกําหนด
คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกเกิดก่อนกําหนด
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดามีภาวะแทรกซ้อน เช่น
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกําหนด
แท้งคุกคามในไตรมาสแรก
มีเลือดออกไตรมาสที่ 2 หรือ 3
การติดเชื้อในครรภ์ เช่น หัดเยอรมัน
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
เศรษฐานะไม่ดี
อายุน้อยกว่า 16 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
ปัญหาที่พบได้ใน
ทารกคลอดก่อนกําหนด
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
ผลกระทบ
การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะขาดน้ำ
น้ำหนักลด
ภาวะลําไส้เน่า
ภาวะหยุดหายใจ
ภาวะเลือดออก
อัตราการตายเพิ่มขึ้น
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
การวินิจฉัย อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5 องศา(วัดทางทวารหนัก)
อาการและอาการแสดง ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคล้ำ หยุดหายใจ หายใจลําบาก ปลายมือ ปลายเท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน น้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะเลือดเป็นกรด ความต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น
น้ำหนักไม่ขึ้น ท้องอืด เลือดออกใน โพรงสมอง เลือดออกในปอด ไตวาย DIC และ PPHN
Hypothermia อุณหภูมิ < 36.5 องศาเซลเซียส
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกําหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกําหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกําหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกําหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศา เซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง “Cold stress”
การพยาบาลทารกที่
ได้รับการรักษาในตู้อบ
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิ
ทารกที่อยู่ใน Incubator
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ
Skin Servocontrol mode
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่ 36.5 องศา
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.1 องศา
ทุก 15 –30 นาที (max 38 องศา)
ระบบทางเดินหายใจ
และพิษออกซิเจน
Perinatal asphyxia
RDS
ความหมายคือ
ภาวะหายใจลําบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม
อาการ
มีอาการหายใจลําบาก
อาการเขียว
ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่ามีภาวะเลือดเป็นกรด
หายใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
การป้องกัน
ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอด
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม , ABG
ระวัง การสําลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทําให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
apnea of prematurity
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
central apnea ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
obstruction apnea ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
AOP
BPD
ROP
เป็นความผิดปกติ ในทารกในทารกคลอดกอนกําหนดที่ มีน้ำหนักน้อย
ระยะเวลาการตรวจหาROP
ตรวจครั้งแรกเมื่อทารกอายุ 4 – 6 สัปดาห์ หรือเมื่อทารก
อายุครรภ์รวมอายุ หลังเกิด 32 สัปดาห์
ถ้าไม่พบการดําเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4 สัปดาห์
ถ้าพบ ROP ควรนัดมาตรวจซ้ำทุก ๆ 1–2 สัปดาห์
การวินิจฉัย
Zone I ระยะวงกลมซึ่งมีรัศมีเป็นสองเท่าของระยะทางระหว่างขั้ว ประสาทตา และศูนย์กลาง จอประสาทตา
Zone II จอประสาทตาจากขอบนอกของ Zone Iจนถึง nasal ora serrata
Zone III จอประสาทตาจากขอบนอกของ Zone IIจนถึง temporal ora serrata
ความรุนแรง
stage1 Demarcation line between vascularized and avascular retina
Stage 2 Ridge between vascularized and avascular retina
Stage 3 Ridge with extraretinal fibrovascular proliferation
Stage 4 Subtotal retinal detachment: (a) extrafoveal detachment (b) foveal detachment
Stage 5 Total retinal detachment
การติดเชื้อ
Sepsis
NEC
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ เฝ้าระวังภาวะลําไส้ทะลุ
ระบบหัวใจ , เลือด
PDA
รักษา
ใช้ยา Indomethacin
ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกว่า 8 hr.
มีภาวะ NEC
ใช้ยา ibuprofen
เพื่อช่วยยับยั้งการสร้างprostaglandin ซึ่งจะทําให้ PDA ปิด
ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จํานวน 3-4 ครั้ง
สามารถปิดได้ร้อยละ 70
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มีมากกว่า serum creatinine 1.6 มิลลิกรัม/ เดซิลิตรและ BUN มากกว่า20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
Neonatal Jaundice
Anemia
เลือดออกในช่องสมอง
IVH
Hydrocephalus
พัฒนาการล้าช้า
การพยาบาลการดูแลด้านการหายใจ
ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมินการหายใจ อัตรา การใช้แรง retraction สีผิว ปีกจมูก
และการกลั้นหายใจ บ่อยครั้งตามอาการของทารก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะ (ถ้ามี)
จัดท่านอนให้คอตรงไม่ก้มหรือเงยเกินไป
ขณะมีการกลั้นหายใจ
ดูแลให้ได้รับยา Theophylline ตามแผนการรักษา
เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะ Apnea
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูให้ความอบอุ่นแก่ทารก ป้องกันการเกิด cold stress
ให้ทารกได้พัก หลีกเลี่ยงการจับต้องทารกเกินความจำเป็น
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิที่ทำให้ทารกมีการใช้ออกซิเจนและสารอาหารน้อยที่สุดโดยที่อุณหภูมิของร่างกายไม่เปลี่ยนแปลง
ป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายทั้งโดยการนำ, การพาความร้อนการแผ่รังสีและการระเหย
ประเมินอุณหภูมิร่างกายตามอาการของทารก
การพยาบาลการให้สารน้ำ
และอาหารอย่างเพียงพอ
ใน 1 – 2 วันแรกหลังเกิดดูแลให้งดน้ำและนม ตามแผนการรักษา
ดูแลการให้อาหารทางปาก
ส่งเสริมให้ทารกได้รับนมมารดา
ประเมินความสามารถในการรับนมได้ของทารก
ดูแลการได้รับสารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
ทารกอาการดีขึ้นจะสามารถรับนมได้มากขึ้น
ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงภาวะที่จะทำ ให้ทารกมีการใช้พลังงานในร่างกายมากกว่า ปกติ
การพยาบาลการป้องกัน
การเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำและนมทางปาก และ/หรือสารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือดดํา
แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดสาเหตุส่งเสริมให้มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดตามผล dextrostix หรือ blood sugar และประเมินอาการทางคลินิกของการมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
การพยาบาลการ
ป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรคก่อนและหลังให้การ พยาบาลทุกครั้ง
เครื่องมือและสิ่งของที่ใช้กับทารกต้องสะอาดหรือผ่านการทำลายเชื้อโรค
อุปกรณ์ที่ใช้กับทารกต้องใช้เฉพาะคน
ดูแลความสะอาดทั่วไปของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ในรายที่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาลการป้องกัน
การเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
ดูแลให้ทารกได้รับการฉีด Vit K1 เข้ากล้ามเนื้อตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ควรจะฉีดเข้าทางหลอดเลือดดํา
ดูแลการได้รับ Vit.E และ FeSO4 ทางปากตามแผนการรักษา
ขณะดูดเสมหะหรือขณะใส่สายยางเข้าไปในทางเดินอาหาร ควรจะใส่อย่างระมัดระวัง นุ่มนวล
ติดตามและรายงานผล CBC ดูแลการได้รับเลือดในรายที่มี platelet หรือ Hematocrit ต่ำ
สังเกตและรายงานอาการที่แสดงว่ามีเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ
ดูแลให้ทารกได้รับธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
การพยาบาลการคงไว้ซึ่งความสมดุล
ของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ ให้เพียงพอตามแผนการรักษา
จดบันทึก Intake และ output อย่างละเอียดและถูกต้อง
ติดตามผล blood gas BUN electrolyte urine specific gravity
สังเกตอาการและอาการแสดงของการมีภาวะไม่สมดุลย์ของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
การพยาบาลการป้องกันการเกิด
การแตกทําลายของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์กับทารกเกินความจำเป็น
การแกะพลาสเตอร์
ระมัดระวังการรั่วของสารน้ำออกจากหลอดเลือดในรายที่ได้รับสารน้ำ, สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การติด probe หรือ electrode ต่างๆ
ระมัดระวังการใช้สารละลาย สารเคมี กับผิวหนังทารก
การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
เนื่องจากทารกจะมีการสะสมแคลเซียม ฟอสฟอรัส และ วิตามินอี
น้อย ความสามารถในการดูดซึมวิตามินที่ละลายในน้ำมีน้อย
จึงมีโอกาสขาดวิตามิน และเกลือแร่ได้
การพยาบาลการ
ป้องกันการเกิด ROP
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ควรใช้ pulse oximeter ติดตาม O2 saturation ตลอดเวลา
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี้ให้ได้รับการรักษา
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก
ส่งเสริม, กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกให้เร็วที่สุด
กระตุ้นให้บิดามารดาอุ้มชู หรือสัมผัสทารกไม่ บังคับหรือตำหนิถ้ามารดายังไม่พร้อมที่จะทำ
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
การพยาบาลการดูแลเพื่อส่ง
เสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด
ดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ
การดูแลตามสื่อสัญญาณของทารก
การจัดท่า
การจับต้องทารก
จัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้มีการ
กระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
ก่อน ขณะ และหลังให้การพยาบาลควรประเมิน
สัญญาณของทารกว่าอยู่ในภาวะใด
ทารกแสดงสื่อสัญญาณว่าอยากมีปฏิสัมพันธ์
พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล มองสบตา
ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ลักษณะของทารก
เกิดก่อนกําหนด
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนังน้อย
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ เขียว และหยุดหายใจได้ง่าย
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกําหนด
Reflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่อง เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก
นางสาวสิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์
เลขที่ 38 รุ่น 36/2
612001119