Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
ความดันโลหิตสูง หมายถึงิสโตลิก
ตั้งแต่ 140 mmHg และไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 mmHg ในผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป
Target organ damage ความผิดปกติที่เกิดจากความดันโลหิตสูง
Hypertensive
retinopathy ที่รุนแรงจะมี exudates หรือเลือดออก หรือ papilledema
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่ยังไม่มีอาการ
โรคไต
เรื้อรังในระดับปานกลางถึงรุนแรง
ภาวะโปรตีนขับออกมากับปัสสาวะ
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
การ
แข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Cardiovascular disease โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง
โรค
ของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
โรคหัวใจล้มเหลว
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่มีอาการ
ตรวจหลอดเลือดแล้วพบ Atheromatous plague และรวมถึง Atrial fibrillation
Hypertensive urgency ความดันสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการ TOD ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
Hypertensive emergency ความดันสูงมากกว่า 180/120 mmHg + TOD มี Acute MI, Stroke, และ Kidney failure ร่วม พบน้อยแต่เสี่ยงต่อชีวิต
hypertensive crisis
malignant hypertension
Hypertensive emergency
สาเหตุ
acute kidney failure
pregnancy-induced
medication-food interactions
pheochromocytoma
drug-induced HT
intracerebral hemorrhage
สาเหตุ
Exacerbation of chronic hypertension
Acute or chronic renal disease
ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
อาการและอาการแสดง
เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy จะมีอาการ
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่
น้ำท่วมปอด
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า
การซักประวัติ
ผลข้างเคียงของยาที่ใช้
การสูบบุหรี่
ความสม่ำสมอในการรับประทานยา
ประวัติความดันโลหิตสูงในครอบครัว
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
โรคอื่นๆ สาเหตุของความดันโลหิตสูง
coarctation ของ aorta, renal artery stenosis
โรคของต่อมหมวกไต
โรคไทรอยด์เป็นพิษ
สอบถามอาการ TOD
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ เทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
สมอง จะมีอาการแขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ หมดสติ
จอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure
retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels
และ retina nerves ถูกทำลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood) แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
การตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ตรวจไตจาก Creatinine,eGFR,ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ,12-lead ECG, chest Xray
สงสัยสมอง ส่งตรวจเอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวล
พร่องความรู้
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
การรักษา
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดหยดเข้าหลอดเลือดดำ เพื่อลดความดัน
ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง เมื่อควบคุมความดันโลหิตได้คงที่แล้ว
เป้าหมายการรักษาจะเป็นการรักษาสาเหตุที่ท าให้เกิด Hypertensive crisis
ใช้ยากลุ่ม vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker,
angiotensin-converting enzyme inhibitor
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
neurologic>สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke.
cardiac > aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias
renal systems BUN Cr จะมีค่าขึ้นสูงได้
ระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตาม BP เพื่อป้องกันความดันลดต่ำลงเร็ว ไม่ควรลด SBP ต่ำกว่า 120 DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ระหว่างรับยา สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง ตรวจขนาดรูม่านตาและปฏิกิริยาต่อแสงกำลังและการเคลื่อนไหวของแขนขา การพูด การตอบสนองต่อคำสั่ง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ติดตามอาการไม่พึงประสงค์
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้าใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ทำให้atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้วและคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricle
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF 7 วันหายไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Persistent AF หายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF ผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ อัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ประเภทของ VT
Nonsustained VT เกิดต่อเนื่องกัน < 30 วิ
Sustained VT เกิดต่อเนื่องกัน > 30 วิ
Monomorphic VT QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT,Torsade
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
หัวใจตายบริเวณกว้าง,
โรคหัวใจรูห์มาติก,ถูกไฟฟ้าดูด,ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ,พิษจากยาดิจิทัลลิส,กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ทีผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียม
ผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำ
การช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทำการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมิน
ภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสาร
น้ำ
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
สาเหต
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Tension pneumothorax
Hypothermia
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีคือ หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และ
เสียชีวิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วย
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์ส าหรับทำ synchronized cardioversion
ท า CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง
หัวใจล้มเหลว (Heart failure)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
Transient มีอาการชั่วขณะ
Chronic มีอาการเรื้อรัง
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF (HFREF) เกิดร่วมกับ
การบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่างลดลง LVEF <40
Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF (HFPEF) เกิดร่วมกับ
การบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ LVEF > 40-50
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure = Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND) ซึ่งเกิดจากความ ดันในหัวใจห้องบนซ้ายหรือห้องล่างซ้ายสูงขึ้น
Right sided-heart failure
อาการบวม ตับโต
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure หัวใจล้มเหลวเกิดจากการที่ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ มากกว่าปกติ
Low-output heart failure ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง จนเกิดภาวะหัวใจล้มภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute heart failure) มีอาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure) มีการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจคงอยู่เป็นเวลานาน
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก ภาวะเลือดคั่งในปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ความผิดปกติของหัวใจ
การตรวจเลือด CBC การทำงานของไต การตรวจการทำงานของตับ
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น มี
การคั่งของน้ำในร่างกายลดลง ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวายได้ดังนี้ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆ
. เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
อาการและอาการแสดง
อาการเหนื่อย อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่าง อ่อนเพลีย แน่นท้อง ท้องอืด
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง หัวใจโต เสียงหัวใจผิดปกติโดยอาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur เสียงปอดผิดปกติ ตับโต บวมกดบุ๋ม
แนวทางเวชปฏิบัต
รับการประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ
ล้มเหลวตามและแก้ไข
ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic เมื่อให้ยาไม่ดีขึ้น ให้ประเมินผู้ป่วยใหม่ เพิ่มขนาดของยา เปลี่ยนวิธีบริหารยา เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง ไม่ดีขึ้น พิจารณา Ultrafiltration พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ ไม่แนะนำให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจในผู้ป่วย Acute heart failure ให้ Tolvaptan ในระยะเวลาสั้นในผู้ป่วยคั่งน้ำและภาวะซีรั่มโซเดียมต่ำ พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine ในกรณีที่มีPulmonary edema และความดันซิสโตลิกมากกว่า 110 ให้ Tolvaptan ในระยะเวลาสั้นในผู้ป่วยคั่งน้ำและภาวะซีรั่มโซเดียมต่ำ
ควรติดตามค่าการทำงานของไต (BUN, creatinine) ซีรั่มโซเดียมและซีรั่มโพแทสเซียม
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวัน
ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน ในผู้ป่วยเป็น Routine ทุกราย
ให้ Oxygen supplement O2 sat < 90 pO2 น้อยกว่า 60 ไมให้ในAcute heart failure Routine
แนะนำ Noninvasive ventilation ใน
ผู้ป่วย Pulmonary edema
ควรยึดแนวทางปฏิบัติและคำแนะนำในการดูและรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD) ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อคแม้ได้รับการ
รักษาด้วยวิธีมาตรฐาน
สาเหต
ความผิดปกติแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ผู้้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหต
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือ
ปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ หากรักษา
ไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลวตามมา
การแบ่งประเภทของช็อก
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock) Cardiac output ต่ำ และเป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดตีบ diastolic สูง SVR สูง
Cardiogenic shock
Obstructive shock
Hypovolemic shock
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock) cardiac output สูง หลอดเลือดขยายตัว Diastolic ต่ำ SVR ต่ำ
Anaphylactic shock
Neurogenic shock
Septic shock
Drug and toxin
Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis, thyroid storm
Post-resuscitation syndrome
Shock management
การรักษาจำเพาะ
การรักษาประคับประคอง
Vasoactive drug
Positive inotropic effect
Positive chronotropic effect
Vasopressor effect
การเลือกใช้
Hypovolemic shock = Vasoactive drugs
Cardiogenic shock = Dopamine Norepinephrine Dobutamine
Obstructive shock / Septic shock ควรให้สารน้ำก่อน
Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis และ Thyroid storm ควรให้สารน้ำและให้การรักษา
ทดแทนทางฮอร์โมน
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline)
Neurogenic shock เลือก Dopamine
Supportive treatment
Airway เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing ควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหต
Fluid therapy
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Hypovolemic shock
Distributive shock
การให้สารน้ำ
Peripheral vein > Central venous catheter
ควรใช้ขนาดเข็มที่ให้สารน้ำ No. 16 หรือ No. 18
มีประโยชน์ในการรักษาช็อกทุกประเภทยกเว้น Left-sided cardiogenic shock
ข้อพึงระวัง Normal saline
Volume overload
Hypernatremia
Hyperchlorermic metabolic acidosis
ข้อควรระวัง Ringer's lactate solution/Ringer's acetate solution
Volume overload
Lactic acidosis
Hyperkalemia
Hypercalcemia
Colloids
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity
Coagulopathy/platelet dysfunction