Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลครอบครัว - Coggle Diagram
บทที่ 3 การพยาบาลครอบครัว
3.1 กระบวนการพยาบาลครอบครัว
ประเมินปัญหา และความต้องการของครอบครัว(Family Assessment)
-การเก็บรวบรวมข้อมูล
การทดสอบความแม่นตรงของข้อมูล
การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล
การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว ซึ่งมี 3 ลักษณะ
1
.ความบกพร่องทางสุขภาพ(health defect)
คือ สภาวะที่ไม่ปกติทั้งกาย ใจ
2
. ภาวะคุกคามทางสุขภาพ(health threat)
คือ สภาวะที่บุคคลเสี่ยงต่อการเกิดโรค และอันตรายต่างๆ
3. สภาวะวิกฤติ(crisis situation)
คือ สภาวะที่บุคคลเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงที่เลี่ยงไม่ได้และต้องการการปรับตัว
การวางแผนเพื่อช่วยเหลือครอบครัว(Planning)
ต้องพิจารณา
ปัญหาที่เร่งด่วน
ของครอบครัวก่อน เพื่อ
จัดลำดับความสาคัญ และแก้ไขปัญหา
ที่มีความสาคัญมากที่สุด
ความสนใจของครอบครัว ความรุนแรงของปัญหา และความสามารถในการแก้ไข
ส่วนประกอบ
กำหนดแนวทางปฏิบัติ
เป้าหมายที่ต้องการ (ระยะสั้น, ระยะยาว)
การปฏิบัติตามแผน(Intervention)
การประเมินผล(Evaluation)
3.2การประเมินภาวะสุขภาพครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพครอบครัว
องค์ประกอบด้านปัจเจกบุคคล
องค์ประกอบด้านสภาวะแวดล้อม
องค์ประกอบด้านระบบสาธารณสุข
กรอบแนวคิด INHOMESSS
INHOMESSS
(Unwin BK, JerantAE (1999), Knight AL, Adelman AM (1991) อ้างใน พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์)
Immobility: ประเมินว่าผู้รับบริการสามารถเคลื่อนไหวได้มาก -น้อยเพียงใด
กิจวัตรขั้นพื้นฐาน
กิจวัตรพิเศษอื่น ๆ(ใช้แรงเพิ่ม)
ประเมินADL, และ 2Q 8Q เพิ่มเติม
Nutrition: ประเมินว่าผู้รับบริการมีภาวะโภชนาการ อย่างไร นิสัยการกิน เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
Housing: ประเมินว่าสภาพบ้านเรือนที่อยู่อาศัยเป็นอย่างไร
ภายในบ้าน เช่น ความแออัด สภาพการตกแต่ง
รอบบ้าน เช่น รั้วรอบขอบชิด
เพื่อนบ้าน
Other people: ประเมินว่าสมาชิกในบ้านมีบทบาท
หน้าที่ต่อผู้รับบริการอย่างไร
หากผู้รับบริการมีภาวะผิดปกติ ใครจะเป็นคนตัดสินใจ
Medications: ประเมินว่าผู้รับบริการรับประทานยา
อะไรบ้าง มีวิธีการจัดอย่างไร ใครเป็นผู้จัด และมียาชนิดอื่น ๆ อีกหรือไม่ ทั้งนี้
เพื่อให้ข้อมูลในการรับประทานยาที่ถูกต้อง
Examination: ประเมินสภาพว่าผู้รับบริการสามารถ
ทำภารกิจได้ มาก –น้อย เพียงใด
เพื่อวางแผนให้การช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
Safety: ประเมินความปลอดภัยภายในบ้าน
เพื่อให้ผู้รับบริการและญาติปรับสภาพบ้านเรือนให้ปลอดภัยต่อสุขภาพของทุกคนในบ้าน
Spiritual health: ประเมินความเชื่อ ค่านิยมจากคนในบ้าน ทั้งจากการสังเกตและการสอบถาม
Services: ให้ผู้ดูแลอยู่กับพยาบาลที่ออกเยี่ยมบ้าน
เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันในการวางแผนให้การช่วยเหลือ
ประเมินแหล่งบริการด้านสุขภาพที่ผู้รับบริการสามารถใช้บริการได้ขณะเกิดปัญหาสุขภาพทั้งในเรื่องของความสะดวก ประหยัด
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational Drug Use : RDU)
บทบาทของพยาบาลครอบครัว
เป็นผู้ดูแลสุขภาพ (Care provider)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agent)
เป็นผู้บริหาร (Administrator)
เป็นนักระบาดวิทยา (Epidemiologist)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
เป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (Health educator)
เป็นผู้ติดต่อสื่อสาร (Communicator)
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์ (Advocator)
เป็นผู้วิจัย (Researcher)
หลักการประเมินภาวะสุขภาพครอบครัว
การศึกษาครอบครัวโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบและมีมาตรฐาน ใช้กรอบแนวคิดที่ชัดเจน
จัดกลุ่มเป็นหมวดหมู่ วิเคราะห์ แปลผล แล้วสรุปเป็นปัญหาและสาเหตุ การประเมินสุขภาพครอบครัว
3.3การวินิจฉัยปัญหาและความต้องการของครอบครัว
การวางแผนการพยาบาลครอบครัว
(ต้องอาศัยหลักการเสริมสร้างศักยภาพของบุคคล ครอบครัว ในการดูแลตนเอง โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว)
ลักษณะการมีส่วนร่วม
การร่วมคิด
การร่วมตัดสินใจ
การร่วมปฏิบัติ
การร่วมติดตามและประเมินผล
การปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว
การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home Health Care)
การนำบริการสุขภาพไปยังบุคคลและครอบครัวถึงที่บ้าน
กุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่การเข้าถึงครอบครัวก็คือ การเยี่ยมบ้าน
การดำเนินกิจกรรม เพื่อนำบริการไปสู่บุคคลและครอบครัวที่บ้าน จึงใช้คำว่า “การเยี่ยม”
การเตรียมการก่อนการเยี่ยม
1.การเตรียมตนเอง
ศึกษาหาความรู้
การให้คำแนะนำการช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา
สวมยูนิฟอร์มให้เรียบร้อย ไม่ควรประดับอาภรณ์นอกจากนาฬิกา
การแต่งกายความสะอาด กิริยามารยาทสุภาพเรียบร้อย
บันทึกไว้ให้ผู้อื่นในหน่วยงานทราบอสะดวกในการติดต่อ
การเตรียมข้อมูล บุคคล ครอบครัวและชุมชน
แหล่งที่ส่งต่อผู้ป่วย และแฟ้มประวัติสุขภาพครอบครัว (Family Folder)
ข้อมูลสุขภาพชุมชน
การเตรียมของใช้สำหรับเยี่ยมบ้าน
สมุดบันทึก (เพราะคงไม่เหมาะที่จะเอาแฟ้มประวัติสุขภาพครอบครัว (Family Folder) ไปด้วย)
กระเป๋าเยี่ยม
ลักษณะของกระเป๋า
: ขนาด, วัสดุที่ทากระเป๋า, แบบกระเป๋า, มีผ้าบุกระเป๋า -ช่องใส่ของ
ของใช้ในกระเป๋าเยี่ยม
ได้เเก่ กระดาษหนังสือพิมพ์ และถุงกระดาษ ผ้าเช็ดมือบรรจุในถุงผ้า (จำนวนมากน้อยตามความจาเป็นที่จะใช้ในการเยี่ยม) ชามรูปไตเล็ก 1ใบ ผ้าก๊อสสาลี เอี๊ยม (ผ้ากันเปื้อน) น้าสบู่ สายวัด วาสลิน ปรอทสาหรับแม่และเด็ก กรรไกรตัดไหม (Scissors) / กรรไกรตัดชิ้นเนื้อ (Metzenbaum) ปากคีบ ไม้กดลิ้น แอลกอฮอล์ 70%
แอมโมเนีย (แอมโมเนียมคาร์บอเนต)
(ทำให้หายใจดีขึ้น จึงสามารถแก้ไขอาการหมดสติได้)
ผ้าพันแผล ยาแดง (ห้ามใช้กับแผลบริเวณใบหน้า) ยาเหลือง ทิงเจอร์ไอโอดีน ยาป้ายตา แอสไพริน ยาแก้ท้องเสีย พลาสเตอร์ เครื่องชั่งน้าหนักเด็ก (สปริง) ลูกสูบยางสาหรับสวนอุจจาระ สายยางสวนปัสสาวะ สายยางสวนอากาศ (Rectal Tube) ถุงพลาสติกสาหรับแยกของที่ใช้แล้ว
การดำเนินการช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหา (การใช้กระเป๋าเยี่ยม)
1.ใช้มือขวาอุ้มตัวกระเป๋าไว้ อีกมือหนึ่งเปิดกระเป๋า ใช้นิ้วคีบกระดาษออกมา 2ชิ้น ชิ้นที่หนึ่ง (กระดาษหนังสือพิมพ์) ปูลงบนโต๊ะ เก้าอี้ หรือพื้นที่จะวางกระเป๋า
วางกระเป๋าลงบนกระดาษ แล้วใช้กระดาษอีกชิ้นหนึ่ง (กระดาษ A 4) พับเป็นถุงวางไว้ที่มุมกระดาษด้านซ้าย
เปิดกระเป๋าถอดนาฬิกาข้อมือ
หยิบถุงผ้าเช็ดมือออกมาวางไว้
หยิบขวดสบู่ เปิดจุกขวดสบู่ คีบไว้ด้วยนิ้วมือ
เทน้าสบู่ใส่บนฝ่ามือ ฟอกมือให้ทั่ว
ล้างมือ
เช็ดมือให้แห้ง แล้วพับผ้าเช็ดมือวางไว้ให้เรียบร้อย **
หยิบถุงเอี๊ยมออกมาจากกระเป๋าวางบนแผ่นกระดาษ เปิดถุงผ้าเอาเอี๊ยมออกมาสวม
เปิดกระเป๋าหยิบของอื่นที่ต้องการใช้ออกมาวางบนกระดาษจัดให้เป็นระเบียบ
11.ปิดกระเป๋าแล้วทาการพยาบาล ขณะทาการพยาบาลให้ทิ้งสิ่งของที่ใช้แล้ว เช่น สาลี ลงในถุงกระดาษ
เมื่อเสร็จจากการพยาบาล เก็บของที่ใช้แล้วใส่ถุงพลาสติก โดยแยกเป็น 2ถุง คือ ของที่จะนาไปทาความสะอาด 1ถุง และของไม่ใช้แล้ว 1ถุง
** (ขณะปฏิบัติงานจริงอาจปรับได้ตามความเหมาะสม)
ก่อนเก็บของเข้ากระเป๋า ต้องล้างมือให้สะอาด (ปิดกระเป๋าไว้ก่อนแล้วจึงไปล้างมือ)
กำจัดถุงใส่ขยะ
อำลาเจ้าของบ้าน (พิจารณาการส่งต่อในรายที่จำเป็น)
การจัดลำดับรายเยี่ยม
จะคัดเลือกรายเยี่ยมได้จากรายเยี่ยมที่นัดหมายไว้ และรายเยี่ยมที่ได้รับการส่งต่อผู้ป่วย
จะให้การดูแลรายใดก่อนหลังโดยยึดหลักความเร่งด่วน และการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
“ลำดับในการเยี่ยมครอบครัว”
ควรเยี่ยมผู้รับบริการ / ครอบครัวที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อง่ายก่อน
เยี่ยมผู้รับบริการ / ครอบครัวที่เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดเชื้อ
เยี่ยมผู้รับบริการ / ครอบครัวที่ติดเชื้อไม่ร้ายแรง
เยี่ยมผู้รับบริการ / ครอบครัวที่ติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อได้ง่าย
การให้บริการขณะเยี่ยมบ้าน
แนะนำตนเอง
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
วินิจฉัยปัญหาสุขภาพบุคคลและปัญหาสุขภาพครอบครัว
การวางแผนแก้ไขปัญหา
การดำเนินการช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหา
จดบันทึก
สิ้นสุดการเยี่ยม
เทคนิคการเยี่ยมบ้าน (Home Visit)
การประเมินผลการพยาบาลครอบครัว
ควรอธิบายให้ผู้รับบริการและครอบครัวทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในทางที่ดีขึ้นและแย่ลง
การปฏิบัติเมื่อเสร็จการเยี่ยม
ทำความสะอาดกระเป๋าเยี่ยม
บันทึกรายงานการเยี่ยม
การเตรียมการปฏิบัติงานในวันรุ่งขึ้น
กลุ่มบุคคลที่ได้รับการดูแล
กลุ่มบุคคลที่สุขภาพอนามัยดี
กลุ่มที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค
กลุ่มคนที่เจ็บป่วยในระยะเริ่มแรก
กลุ่มคนที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือผู้พิการ
การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือนวัตกรรมสุขภาพ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
การประยุกต์ หมายถึง การนำบางสิ่งมาใช้ประโยชน์ โดยปรับใช้อย่างเหมาะสมกับสภาวะที่เฉพาะเจาะจง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (local wisdom )หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดขึ้นได้เองและนำมาใช้ในการแก้ปัญหา
นวัตกรรม (Innovation)หมายถึงความคิดการปฏิบัติและการกระทำใหม่ ๆที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
องค์ประกอบของนวัตกรรม
เป็นสิ่งใหม่
เน้นใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์
เป็นประโยชน์ต้องตอบได้ว่าสิ่งที่เราสร้างเป็นอย่างไร
เป็นที่ยอมรับ
มีโอกาสในการพัฒนา
หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence)คือ ความรู้ ข้อมูลหรือความจริงที่เป็นอยู่ ทั้งที่มาจากงานวิจัยและไม่ใช่งานวิจัย มาจากความคิดเห็น ประสบการณ์ หรือข้อมูลทางประวัติศาสตร์
3.4การพยาบาลครอบครัวในภาวะต่าง ๆ
การพยาบาลครอบครัวภาวะปกติ
ครอบครัวเชิงเดี่ยว (Nuclear families) หรือครอบครัวเดี่ยว
1.1 รูปแบบทางชีวภาพ
คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วยพ่อแม่และลูก โดยลูกคนนี้จะเป็นลูกของพ่อและแม่โดยสายเลือด
1.2 รูปแบบทางสังคม
ครอบครัวแบบที่เกิดจากการที่คนสองคนมีความสัมพันธ์ร่วมกัน ทั้งโดยการสมมติหรือการอยู่กินกันเฉย ๆ และจะคงสภาพครอบครัวเชิงเดี่ยวที่
ทั้ง 2คนยังไม่มีลูก
แต่
เมื่อลูกเกิดขึ้นมาเป็นทายาทสืบสายโลหิต ครอบครัวนี้ก็จะเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบทางชีวภาพ
1.3 รูปแบบทางชีวภาพที่มีการปรับโครงสร้างใหม่
ครอบครัวที่
พ่อแม่หย่าร้างกันแล้วแต่งงานใหม่ไปอยู่กินกับครอบครัวคนใหม่
ลักษณะนี้ครอบครัวจะประกอบไปด้วย
พ่อ แม่ ลูกติดจากฝ่ายสามี / ลูกติดจากฝ่ายภรรยา และอาจจะมีลูกของทั้งสองฝ่ายที่เกิดขึ้นใหม่
1.4 รูปแบบทางชีวภาพที่มีพ่อหรือแม่แต่เพียงฝ่ายเดียว
ลูกที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบดูแลของฝ่ายพ่อหรือแม่ ครอบครัวที่มีพ่อคนเดียวหรือแม่เพียงคนเดียว
เกิดขึ้นได้
จากการตาย
จากไปของคู่สมรส
การหย่าร้าง การแยกทาง การทอดทิ้ง
ไปหรือการหายไปของคู่สมรส
1.5 ครอบครัวบุญธรรม
1.6 ครอบครัวเด็กหลอดแก้ว
ลูกที่ได้จากการผสมเทียมโดยการฝากลูกไว้ให้ผู้อื่นตั้งครรภ์
อาจนับเป็น
ครอบครัวเชิงเดี่ยว
ได้ หากโครงสร้างหลักของครอบครัวยังมีพ่อแม่และลูกเท่านั้น
ปัญหาที่พบได้ในครอบครัวเดี่ยว
-
ไม่มีผู้ใหญ่อยู่ด้วย
ทาให้สามีภรรยาขัดแย้งกันได้ง่าย, เกิดปัญหาการหย่าร้าง
-
ขาดผู้ดูแลเด็กที่มีคุณภาพ
(เลี้ยงดูโดยมารดา, สถานรับเลี้ยง, ฯลฯ)
ครอบครัวขยาย (Extended families)
2.1 ครอบครัวขยายที่มีสมาชิกในครอบครัว 3 รุ่นขึ้นไป
นับตั้งแต่
เทียด ทวด ปู่ย่า ตายาย พ่อแม่ ลูก และหลาน
ส่วนใหญ่สมาชิกทุกคนอาศัย
อยู่ร่วมกันหมด
ครอบครัวประเภทนี้
มีอานาจในการตัดสินใจมักได้แก่ผู้อาวุโสสูงสุดของครอบครัว
2.2 ครอบครัวขยายที่มีสมาชิกในครอบครัว 3 รุ่นขึ้นไป เช่นเดียวกับแบบ 2.1 แต่บางส่วนของลูก / หลานจะแยกครอบครัวไปหลังจากแต่งงาน
2.3 ครอบครัวที่มีสมาชิกอยู่ร่วมกันหลายรุ่น
ะมีเครือญาติอาศัยอยู่เป็นครอบครัวใหญ่ในรูปแบบครอบครัวต่อก้าน
ปัญหา
ประโยชน์
ผู้อาวุโสสามารถช่วยไกล่เกลี่ยหรือประนีประนอมได้
สมาชิกแต่ละคนยังสามารถช่วยเหลือกันได้ในทุกเรื่อง
การที่ผู้ใหญ่ช่วยอบรมสั่งสอนให้เรียนรู้ระเบียบปฏิบัติที่ดีงาม ขัดเกลาให้เป็นผู้มีจริยธรรม คุณธรรม
อาจเกิดความขัดแย้งคับข้องใจกันได้ง่าย สมาชิกรุ่นหนุ่มสาวอาจรู้สึกไม่มีอิสระในการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
ครอบครัวที่มีการจัดโครงสร้างใหม่ (Reorganized families)
ที่มีลักษณะผิดแผกไปจากครอบครัวปกติ
3.1ครอบครัวที่มีเฉพาะคนแก่และเด็ก
3.2ครอบครัวที่มีเฉพาะผู้สูงอายุอยู่อาศัยอย่างเดียวดาย
3.3ครอบครัวที่มีแต่คนโสด
3.4ครอบครัวที่คู่สมรสเป็นเพศเดียวกัน
ปัญหา
-ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมรอบข้าง
-การหึงหวง, ไม่มีผู้สืบสกุล, ฯลฯ
การพยาบาลครอบครัวภาวะเบี่ยงเบน
-ครอบครัวแตกแยก/ หย่าร้าง
ละเลย ละทิ้ง ไม่อาจทำหน้าที่ให้ครอบครัวได้อย่างปกติ
ฯลฯ จนเกิดผลให้สมาชิกเดือดร้อนเสียหายทางร่างกาย และ / หรือทางจิตใจ หรือในที่สุดเกิดภาวะล่มสลายของครอบครัว
1) ครอบครัวที่สัมพันธภาพของสามีภรรยาเบี่ยงเบนจากปกติไ
ด้แก่ การทะเลาะเบาะแว้ง การนอกใจ การละทิ้ง การแยกกัน และการหย่าร้าง หรือมีความสัมพันธ์ตามกฎหมายเท่านั้น
2) ครอบครัวที่พบพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกบางคน
สมาชิกบางคนไม่ทำหน้าที่
3) ครอบครัวไม่จดทะเบียนสมรส
เด็กจึงมีสถานภาพเป็นลูกนอกสมรส สามีภรรยาไม่มีความเกี่ยวพันกันตามกฎหมาย
ความแตกแยกในครอบครัว
1) การมีภรรยาน้อย
2) การหย่าร้างทางอารมณ์
3) การแยกทางกัน หรือหย่าร้างกัน
สรุปปัญหาของครอบครัวไทย
ความยากจน
การติดยาเสพติด
การติดเชื้อเอดส์
ความรุนแรงในครอบครัว
สัมพันธภาพในครอบครัวเสื่อมถอย
เด็กถูกทอดทิ้ง
ผู้สูงอายุถูกปล่อยให้อยู่ตามลำพัง
ปฎิสัมพันธ์ของครอบครัวที่มีต่อชุมชนและสังคมมีแนวโน้มลดลง
แนวทางการแก้ไขปัญหาการหย่าร้าง
อดทน ถนอมน้าใจกัน เอาใจเขามาใส่ใจเรา
เวลาอารมณ์ดีๆ ควรพูดจากกันถึงสิ่งบกพร่องต่างๆ
3. หมั่นขยันทางาน อดออม
เพื่อจะได้ไม่เกิดปัญหาทางการเงิน
ฝ่ายชายควรมีความรับผิดชอบเมื่อสมรสแล้ว และฝ่ายหญิงควรสารวจข้อบกพร่อง ของตนเองเสมอ
รักและเอาใจใส่ญาติพี่น้องของแต่ละฝ่าย
ควรให้อภัยซึ่งกันและกัน
-ครอบครัวพ่อแม่อายุน้อย
ไม่มีความสามารถในการสร้างครอบครัวถึงอายุจะบรรลุนิติภาวะแต่ยังไม่มีศักยภาพในการหาเลี้ยงคนในครอบครัว ก็น่าจะยังคงเข้าข่ายนี้เช่นกัน
ปัญหา
1. ปัญหาด้านเศรษฐานะของครอบครัว
: ยังไม่มีอาชีพที่จะสามารถหารายได้
2. ปัญหาด้านการศึกษา:
พักการเรียน, ออกจากโรงเรียน
3. ปัญหากับตัวแม่
: ยังไม่มีความพร้อมในการตั้งครรภ์, ไม่พร้อมในขณะคลอด, ไม่พร้อมในการดูแลเด็ก
4. ปัญหากับทารกในครรภ์:
ไม่สมบูรณ์เต็มที่, อาจถูกทอดทิ้ง / ให้ปู่ ย่า ตา ยาย เลี้ยงดู
5. ปัญหาด้านกฎหมาย
-ครอบครัวมีบุตรยาก (Infertile families)
ครอบครัวที่คู่สมรสไม่สามารถมีบุตรได้ ทั้งที่มีเพศสัมพันธ์อย่างสม่าเสมอโดยไม่ได้คุมกาเนิดเป็นเวลาอย่างน้อย1 ปี
ประมาณ15 % ของคู่สมรส หรือ15 คู่ ใน 100
การพยาบาลครอบครัวภาวะวิกฤติ
การมีสมาชิกในครอบครัวเจ็บป่วยหรือใกล้เสียชีวิต หรือเสียชีวิต
ปัญหา
-การทาร้ายร่างกายคู่สมรส มักเกิดขึ้นโดยที่สามีเป็นฝ่ายทาร้ายภรรยา
-การทำร้ายเด็ก
-การทำร้ายผู้สูงอายุ
-การข่มขืนคู่สมรส
-การมีเพศสัมพันธ์ในครอบครัว โดยมากมักเกิดขึ้นโดยพ่อหรือพ่อเลี้ยงกับลูกสาว หรือกับลูกชาย
สถานการณ์เงื่อนไขความรุนแรงในครอบครัว เกิดจาก
ครอบครัวที่มีปากเสียงกันเป็นประจำ และมีการลงไม้ลงมือด้วย หรือแม่ถูกพ่อทารุณเสมอๆ
เด็กชายมักถูกล่วงเกินทางเพศมากที่สุดช่วงอายุ 6-9ปี
3.เด็กที่โกรธบ่อย ๆ จนเป็นนิสัย ความก้าวร้าวก็จะกลายเป็นสิ่งที่กลับมาทาร้ายตัวเอง
ผลกระทบต่อผู้ได้รับความรุนแรงจากครอบครัว
1) ทางกาย
จะเกิดความบาดเจ็บ บอบช้า อาจจะมีบาดแผล กระดูกหัก พิการ หรือจนถึงตาย
2) ทางจิตใจจะเกิดชอกช้าใจ
ปวดร้าว สานึกว่าตนเป็นผู้ผิดตามที่ถูกกล่าวหา และเมื่อโตขึ้นอาจกลายเป็นผู้ทาร้ายผู้อื่น หรือทาตัวให้ถูกทาร้ายซ้าซาก จนกลายเป็นโสเภณี หรือผู้ชายที่ให้บริการทางเพศ
3) ทางอารมณ์
จะทำให้กลายเป็นคนก้าวร้าว แสดงพฤติกรรมรุนแรง หรือเสพสารหรือเสพสุรา หรือคิดฆ่าตัวตาย
4) ทางสังคม
ครอบครัวขาดความสุข คนในสังคมเกิดความกลัว หวาดระแวง และที่ร้ายที่สุดคือความรุนแรงกลายเป็นความเลวร้ายที่เป็นมรดกตกทอดไปถึงลูกหลาน
การพยาบาลครอบครัวภาวะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย
หลักการดูแล
เข้าใจกลไกครอบครัว
วางแผนร่วมกัน
สื่อสารต่อเนื่อง
หากลุ่มเพื่อนใหม่
อย่าให้ตกหนักใครคนเดียว
พยายามเข้าใจผู้ให้การดูแล (Care giver)
3.5การส่งเสริมให้ครอบครัวดูแลตนเองด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพครอบครัวโดยใช้กระบวน การพยาบาลและเทคนิคการเยี่ยมบ้าน