Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน - Coggle Diagram
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
สภาวะสุขภาะ = สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ไม่ใช่เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายภาพเท่านั้น
ประสิทธิภาพ (Effciency)
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง " ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค "
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด " ความคุ้มค่า "
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงสุด
" ประสิทธิในการจัดสรร "
ในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
ประเมินระหว่าง ต้นทุน และ ผลลัพธ์
การวัดผลสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
Health status evaluation = การวัดผลลัพธ์ในรูปสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อน ยุ่งยากมากกว่าโครงการต่างๆ ทางการแพทย์มีความแตกต่างที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ
Health outcomes
Measuring health = การวัดผลลัพธ์สุขภาพโดยเน้นการวัดดูการเปปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ เช่น วัดชีพจร
valuing health = การให้ค่าสุขภาพ โดยวิธีการหาอัตรา Rate ให้น้ำหนัก ผลลัพธ์ถูกระบุให้ค่าความพึงพอใจ ขณะสภาวะสุขภาพนั้นๆ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิค
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง มีตัวกำหนดคือ ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ กับ ค่าสัญญาณทางกายภาพ
ข้อดี คือ มีค่าชัดเจ เปลี่ยนแปลงระยะสั้น วัดค่าที่ใช้เกิดระยะสั้น
ข้อเสีย คือ ไม่บ่งชี้ผลลัพธ์สุดท้าย ส่งผลการคาดเคลื่อนด้านนโยบาย
ผลลัพธ์สุดท้าย คือ ผลลัพธ์ทางสขภาพขั้นสุดท้าย มีคุณค่าและมีความสำคัญกับผู้ป่วย เช่น ความรู้สึก การปฏิบัติหน้าที่ การรอดชีวิต
ข้อดี คือ เป็นตัวแทนสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์สุดท้าย ครอบคลุมการรักษา มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย คือ อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย ค่าใช้จ่ายสูง
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่รูปตัวเงิน คน อุปกรณ์ วิธีการ
ต้นทุนที่อยู่อยู่ในรูปตัวเงิน งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ
ประเภทของต้นทุน
ต้นทุนค่าลงทุน กับ ต้นทุนดำเนินการ
ต้นทุนทางตรง กับ ทางอ้อม
ต้นทุนทางการแพทย์ กับ ที่ไม่ใช่การแพทย์
ต้นทุนจับต้องได้ กับ จับต้องไม่ได้
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน (ต้นทุนต่อหน่วย)
ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนรวม
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนเฉลี่ย
ต้นทุนและการวิเคราะห์ระบบ
ต้นทุนต่อหน่วย = ต้นทุนรวมทั้งหมด (หาร) ผลผลิตทั้งหมด
ประเภทการศึกษาต้นทุน
cost centre approach = ระบบบัญชีแบบดั้งเดิม เรียบง่าย เที่ยงตรง ตรวจง่าย
ขั้นตอนศึกษาต้นทุน
แบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
3.หาวิธีการกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
4.หาต้นทุนรวมทั้งหมด
5.หาต้นทุนต่อหน่วย
Activity Approach
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม หรือระบบABC เป็นเครื่องมือในการบริหารงานฐานคุณค่าเชื่อมโยงบริหารระดับองค์กรสู่ปฏิบัติประจำวัน (ให้ผู้บริหารหันมาสนใจบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง)
กิจกรรม คือ การกระทำที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็นผลผลิตได้
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
การคำนวณต้นทุนทางลัด
คำนวณต้นทุนต่อหน่วยการบริการ = ข้อมูลรายจ่ายทั้งหมด (หาร) จำนวนผู้รับบริการ
ปัจจัยส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
การกระจายต้นทุนต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาต่างกัน
การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุนเศรษฐศาสตร์
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลแตกต่างกัน
ประโยชน์
ใช้ประเมินประสิทธิภาพ เทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่ได้
ใช้คำนวณอัตราคืนทุน
นำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด มิติต่างๆได้รวดเร็ว
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร