Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost),…
บทที่ 6
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
“สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น”
คำถามที่ต้องการคำตอบ
EFFICACY
ดีจริงหรือไม่
EFFECTIVENESS
ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
EFFICIENCY
คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
EQUITY
เป็นธรรมหรือไม่
Whom
Who
What resources
What
What amount
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
Outcomes in economic evaluation
การประเมินระหว่าง ต้นทุน (costs)และ ผลลัพธ์ (benefits)
เพื่อคาดคะเน health of individual and population
เพื่อประเมินผลกระทบ
ของ health intervention
เพื่อประเมินความครอบคลุมของด้านสังคมและเศรษฐกิจในการบริการของประเทศ
Health status evaluation
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อนและบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและ
วิธีการถึงแม้ว่าจะมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดี
Joint pain
Movement
AIDS
CD4 > 500
Antenatal Care
Infant moralityrate
Health outcomes
Measuring health
เน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
Blood pressure
Glucose level
White blood cell
Valuing health
การให้ค่าความพึงพอใจ Preferencesในขณะที่อยู่ในสภาวะสุขภาพนั้นๆ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง (Surrogate outcomes or Intermediate outcomes)
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes)
ความรู้สึก (Feeling)
การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
การรอดชีวิต (Survival)
ผลลัพธ์สภาวะสุขภาพและผลของการรักษา
ผลระยะสั้น(Short term outcomes)
วัดโดยใช้ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน
(Surrogate outcomes)
ผลระยะยาว(Long term outcomes)
วัดโดยใช้ผลลัพธ์สุดท้าย
(Final outcomes)
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลที่เป็นตัวแทน
Intermediate outcomes
ข้อดี
• มีค่าที่ชัดเจน
• สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
• สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึนในระยะสั้น
ข้อเลีย
• ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
• อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลสุดท้าย
Final outcomes
ข้อดี
• เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการ
เปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
• ครอบคลุมผลการรักษา
• มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย
• อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
• ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
มุมมองต้นทุน
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยนำเข้าการผลิตบริการสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
(คน อุปกรณ์ วิธีการ)
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน
(งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
มุมมองของต้นทุน
ผู้จ่ายเงิน (Payer or Purchaser perspective)
ผู้ให้บริการ (Hospital or provider perspective)
ผู้ป่วย (Patient perspective)
มุมมองด้านสังคม (Societal perspective)
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) และ
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) และ
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) และ
ต้นทุนดำเนินกําร (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) และ
ต้นทุนทํางอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
เงินเดือน
ค่ารับจ้างเหมาจ่ายรายเดือน
ค่าเช่าอปุกรณ์
ค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ค่ายา
ค่าน้ำยาห้องปฏิบัติการค่าไฟฟ้า
น้ำประปา
ค่าแพทย์ (Doctor fee)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost)
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนและการวิเคราะห์ระบบ
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน:
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็ นหน่วยงานต้นทุน
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
หาต้นทุนต่อหน่วย
การหาต้นทุนทางตรงของแต่ละหน่วยงาน
ต้นทุนค่าแรง(LABOUR COST)
เงินเดือน
สวัสดิการ(Fringe Benefit)
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าตอบแทนล่วงเวลา
ค่าเช่าบ้าน
ต้นทุนค่าลงทุน(CAPITAL COST)
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ยานพาหนะ
รถยนต์
รถฉุกเฉิน
เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์
X-rays machine
ต้นทุนค่าวัสดุ(MATERIAL COST)
วัสดุก่อสร้าง
ค่าซ่อมแซมต่าง ๆ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ยา, เวชภัณฑ์
การค้านวณต้นทุนทางลัด
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุนแตกต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
การการกระจายต้นทุนต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
ท้าให้มีข้อมูลและสามารถน้าเสนอค่าใช้จ่าย
ตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพจากการเปรียบเทียบ
ต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้ค้านวณอัตราคืนทุน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่ากิจกรรมใดควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ใช้เป็นข้อมูลพื นฐานส้าหรับผู้บริหาร
Activity Approach (Activity based costing: ABC)
การกระทำที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็นผลผลิต
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน:
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
เปรียบเทียบระหว่างการคำนวณต้นทุน
Activity Approach
กลุ่มต้นทุนตามกิจกรรม
ผลผลิต (Outcomes)
Cost Centre Approach
กลุ่มต้นทุนตามหน่วยงาน
ผลผลิต (Outcomes)
นางสาว กนกวรรณ กันชัย เลขที่ 2 ห้อง 1A