Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Paroxysmal AFที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
Persistent AFที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา
Permanent AFที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษา
Recurrent AFที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation)
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
Nonsustained VT VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VTเกิดนาน 30 วิ ซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตใน
ร่างกายลดลง
Sustained VT VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic
heart disease)
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
เตรียม
ผู้ป่วยในการทำsynchronized cardioversion
คลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำ
การช็อกไฟฟ้าหัวใจ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
อาการและอาการแสดง
หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยา
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST
ให้ยา antidysrhythmia
ทำCPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง
Hypertensive crisis
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า
การซักประวัติ
โรคความดันโลหิตสูง ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงของยาที่ใช้ การสูบบุหรี่ ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
ตรวจจอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema
ตรวจ retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทำงานของไต
การรักษา
การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอด
เลือดดำ
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดneurologic,
cardiac, and renal systems
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยา
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
Acute Heart Failure (AHF)
สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อยขณะที่ออกแรง (Dyspnea on exertion)
อาการเหนื่อย หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ (Orthopnea)
อาการหายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้นเนื่องจากอาการหายใจไม่สะดวก
อาการบวม
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography)
การตรวจเลือด
Complete blood count (CBC)
การทำงานของไต (Renal function)
การตรวจการทำงานของตับ (Liver function test)
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจ
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position)
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวาย
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
Shock
การแบ่งประเภทของช็อก (Classification of shock)
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Obstructive shock
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Drug and toxin
Shock management
การรักษาจำเพาะ (Specific treatment) สำหรับภาวะช็อกแต่ละประเภท
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Supportive treatment
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหตุของช็อกแต่ละประเภท
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
ควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Cardiogenic shock ในขณะที่ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ ควรเลือกใช้ Dopamineต่ำใช้ Norepinephrine ได้ (Selected case)
Obstructive shock ควรให้สารน้ำก่อน
Septic shock ควรให้สารน้ำก่อน
Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis และ Thyroid storm ควรให้สารน้ำและให้การรักษา
ทดแทนทางฮอร์โมน หรือให้ยาต้านธัยรอยด์ใน Thyroid storm
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline)
Neurogenic shock เลือก Dopamine
การให้สารน้ำ (Fluid therapy)
Crystalloids
Normal saline
Ringer's lactate solution
Ringer's
acetate solution
Colloids
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity
Coagulopathy/platelet dysfunction