Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ,…
บทที่ 9 การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
การบาดเจ็บจากการคลอด
ความหมาย
การบาดเจ็บที่เกิดกับทารกระหว่างคลอดจากแรงที่กระทากับทารกโดยตรง และไม่เกี่ยวกับโรคที่มารดาเป็ นระหว่างการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดา
ภาวะแทรกซ้อนจากการตงั้ ครรภ์ เช่น PIH รกลอกตัวก่อนกา หนด ภาวะน้า ครา่ น้อย
ระยะเวลาของการคลอด เช่นการคลอดเฉียบพลัน
ความผิดปกติที่มีมาก่อนการตั้งครรภ์ เช่น มารดามีภาวะเบาหวาน เชิงกรานแคบไม่ได้สัดส่วนกับทารก (CPD)
ปัจจัยเสี่ยงจากทารก
ทารกมีส่วนนา ผิดปกติ เช่น หน้า ไหล่ ก้น
ทารกมีขนาดตัวโตมากทา ให้เกิดการคลอดยาก
อายุครรภ์ของทารกไม่ครบกาหนด หรือเกินกาหนด
การคลอดไหล่ยาก
ทารกมีความพิการแต่กาเนิด
ปัจจัยเสี่ยงจากการคลอด
การคลอดด้วยคีม หรือเครื่องดูดสุญญากาศ
การใช้แรงดึงมากเกินไปในการช่วยคลอดทารก
ปัจจัยเสี่ยงผู้ทำคลอด
ขาดความชำนาญหรือขาดการเอาใจใส่อย่างเพียงพอ
การบาดเจ็บที่ศีรษะทารก (Skull injuries)
ภ่วะก้อนบงมน้ำใต้หนังศีรษะ
(caput succedaneum)
คือ
เกิดจากการคั่งของของเหลวในระหว่างชั้นของหนังศีรษะกับชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
ก้อนบวมโนนี้จะข้ามรอยต่อ (suture) ของกระดูกกะโหลกศีรษะ
มีขอบเขตไม่แน่นอน
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะทา ให้มีของเหลวไหลซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั้นใต้เยื่อห้มุ หนังศีรษะ
การใช้เครื่องดูดสุญญากาศช่วยคลอด (vacuum
extraction)
การวินิจฉัย
จากการคลา ศีรษะทารก พบก้อนบวมโน นุ่ม กดบุ๋ม ขอบเขตไม่ชัดเจนข้าม suture พบทันทีภายหลังคลอด
อาการเเละอาการเเสดง
พบได้ด้านข้างของศีรษะ การบวมของก้อนโนนี้จะมีความกว้างและมีขนาดโตประมาณไข่ห่าน ทา ให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
เเนวทางการรักษา
ถ้าเกิดจาก V/E จะหายได้ช้ากว่า
หายไปได้เอง ประมาณ 2 -3 วันหลังคลอด
บทบาทการพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงของก้อนบวมโนที่ศีรษะ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการ
บันทึกอาการและการพยาบาล
Cephalhematoma
คือ
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้ม
กะโหลกศีรษะ
เป็นการคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะมีขอบเขตชัดเจน และไม่ข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบมากที่กระดูก parietal
สาเหตุ
ระยะเวลาการคลอดยาวนาน
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอด
การใช้ V/E
ภาวะเเทรกซ้อน
อาจเกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโนเลือดในกรณีมีแผนการรักษา
ในรายที่มีอาการรุนแรง ก้อนโนเลือดมีขนาดใหญ่ จะเกิดภาวะ hyperbilirubinemia ได้
การวินิจฉัย
ตรวจพบศีรษะมีก้อนบวมโนบนกระดูกกะโหลกศีรษะชิ้นใดชิ้นหนึ่งลักษณะแข็งหรือค่อนข้างตึง คลา ขอบเขตได้ชัดเจน กดไม่บุ๋ม
ประวัติเบ่งคลอดนาน ช่วยคลอดโดยใช้ V/E
อาการเเละอาการเเสดง
ในรายที่รุนแรงอาจพบทันทีหลังเกิดและพบว่าก้อนโนเลือดมีสีผิดปกติ คือเป็นสีดา หรือน้า เงินคล้า เนื่องจากการแข็งตัวของเลือด และอาจพบว่าทารกมีภาวะซีดได้จากการสูญเสียเลือดมาก
อาการจะชัดเจนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว เนื่องจากเลือดจะค่อย ๆ ซึมออกมานอกหลอดเลือด
เเนวทางการรักษา
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน จะค่อยๆหายไปเองภายใน 2 เดือน
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองร่วมด้วยและมีระดับบิลลิรูบินในเลอื ดสูงจำเป็นต้องได้รับการส่องไฟ (phototherapy)
ในรายที่ก้อนเลือดขนาดใหญ่อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
บทบาทการพยาบาล
สังเกต ลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาวะเลือดออกในสมอง
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโนเลือด
สังเกตอาการซีด เจาะ Hct และใหเ้ ลือดตามแผนการรักษา
ตรวจ MB ถ้าตัวเหลืองรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาส่องไฟ(photo therapy)
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการของทารก
แนะนา ไม่ใช้ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออกเอง
Subgaleal hematoma
ภาวะที่มีเลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างพังพืดของกะโหลกกับเยื่อหุ้มกะโหลก
สาเหตุ
มักพบในการคลอดโดยใช้ V/E
อาการเเละอาการเเสดง
ก้อนมีลักษณะน่วม และข้ามแนวประสานกระดูก ก้อนมีขนาดเพิ่มขึ้นช้า ๆ ในหลายชั่วโมงหรือวัน หรือเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็ว อาจทา ให้ทารกช็อกจากการเสียเลือดได้
มีขอบเขตจากหน้าไปหลังเริ่มจากขอบเบ้าตา ไปยังท้ายทอยและด้านข้างจากหูไปยังหูอีกข้าง
Subgaleal hematoma อันตรายมากกว่าCephalhematoma เนื่องจากสามารถขยายขนาดได้ตั้งแต่ขอบกระดูกเบ้าตาจนถึงชายผม ทา ให้ทารกเสียเลือดมากจนเกิด hypovolemia
Intracranial hemorrhage
คือ
เกิดขึ้นได้หลายตา แหน่ง
เป็นภาวะที่เลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
การได้รับอันตรายรุนแรงจาการคลอด เป็นสาเหตุสา คัญที่สุด
การใช้เครื่องมือช่วยคลอด
การคลอดท่าก้น
ภาวะ CPD
การคลอดยาก
การให้ยาช่วยเร่งคลอดไม่เหมาะสม
การคลอดเฉียบพลัน
ภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานานในขณะคลอดหรือเกิดภายหลังคลอด
Preterm
ภาวะเเทรกซ้อน
เลือดออกกดศูนย์หายใจทา ให้ทารกหายใจลา บาก
ทารกอาจเกิดปัญญาอ่อน (mental retardation)
การวินิจฉัย
จากประวัติการคลอดเพื่อค้นหาสาเหตุ
อาการเเละอาการเเสดง
Reflex ลดน้อยลงหรือไม่มี โดยเฉพาะ moro reflex จะเสียไป
กำลังกล้ามเนื้อไม่ดี มีอาการอ่อนแรง
มีภาวะซีด หรือมีอาการเขียว (cyanosis)
ซึม ดูดนมไม่ดี หรือไม่ยอมดูดนม
ร้องเสียงแหลม
การหายใจผิดปกติ มีหายใจเร็ว ตื้น ช้า ไม่สม่า เสมอ หรือหยุดหายใจ
กระหม่อมโป่งตึง
ชัก (Convulsion)
เเนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชักและให้วิตามินเค
ดูแลให้ออกซิเจนถ้าทารกมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายทารกถ้าตัวเย็น
ถ้ามีความดันในกะโหลกศีรษะสูง อาจได้รับการรักษาโดยเจาะน้า ไขสันหลังเพื่อบรรเทาอาการความดันในสมอง
ดูแลให้ได้รับนมและน้า อย่างเพียงพอ
บทบาทการพยาบาล
ดูแลให้ทารกหายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับนมและน้า ที่เพียงพอ
ให้ทารกอย่ใูนต้อบ (incubator) ที่ควบคุมอุณหภูมิ
เตรียมเครื่องมือในการให้ความช่วยเหลือทารกไว้ให้พร้อม
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และบันทึกไว้ทุก 2- 4 ชั่วโมง ตามระดับความรุนแรงของอาการ
ป้องกันและไม่ให้ทารกได้รับอันตรายจากการชัก
ดูแลฉีดวิตามินเค จำนวน 1 มิลลิกรัม เข้ากล้ามเนื้อ
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดา
ให้การดูแลอย่างต่อเนื่องโดยการให้ความรู้แก่มารดาในการดูแลทารกให้เหมาะสม
การบาดเจ็บของกระดูก(Bone injuries)
กระดูกต้นเเขนหัก (Fracture humurus)
สาเหตุ
การคลอดท่าก้นผู้ทา คลอดดึงทารกออกมาแขนเหยียด
การคลอดท่าศีรษะที่
ไหล่คลอดยาก
ตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์(moro reflex) พบว่า ทารกจะไม่
งอแขน
เมื่อจับแขนขยับทารกจะร้องไห้เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
อาการเเละอาการเเสดง
แขนข้างที่หักจะมีอาการบวมและทารกไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่หักเนื่องจากรู้สึกเจ็บ
ในรายที่มีกระดูกหักสมบูรณ์ (complete) อาจได้ยินเสียง
กระดูกหักขณะคลอด
เเนวทางการรักษา
แต่ถ้ากระดูกแขนหักสมบูรณ์ จะรักษาโดยการจับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา แขนส่วนล่างและมือทาบขวางลา ตัวใช้ผ้าพันรอบแขนและลา ตัว หรือใส่เฝื อกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
ถ้าเป็ นเพียงกระดูกแขนเดาะ จะรักษาโดยการตรึงแขนให้แนบกับลา ตัวเพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
กระดูกต้นขาหัก(Fracture femur)
สาเหตุ
ผู้ทา คลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางเข้าเชิงกราน (pelvicinlet)
การคลอดท่าก้น
ตรวจร่างกาย
สังเกตว่าทารกจะไม่เคลื่อนไหวขาข้างที่หัก
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ ทารกไม่ยกขาข้างที่กระดูกหัก
อาการเเละอาการเเสดง
อาจไม่ทราบว่ากระดูกหักจนเวลาผ่านไปหลายวัน จะพบว่าขาทารกมีอาการบวม เนื่องจากเลือดเข้าไปในกล้ามเนื้อใกล้เคียงบริเวณที่หัก
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
เมื่อจับทารกเคลื่อนไหวหรือถูกบริเวณที่กระดูกต้นขาหักทารกจะร้องไห้
เเนวทางการรักษา
ถ้ากระดูกไม่หักแยกจากกัน (incomplete) รักษาโดย
การใส่เฝื อกขายาว ประมาณ 3 -4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกหักแยกจากกัน (complete) รักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรง ให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ดึงขาไว้นาน 2-3 สัปดาห์
กระดูกไห้ปลาร้า(Fracture clavicle)
ตรวจร่างกาย
กรณีที่กระดูกเดาะอาจยกแขนได้ คลา บริเวณที่หักอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ
ทดสอบ moro reflex แขนทั้งสองข้างของทารกเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
สาเหตุ
ทารกตัวโตหรอื คลอดท่าก้นที่แขนเหยียดซึ่งผู้ทา คลอดดึงแขนออกมา
การคลอดทารกท่าศีรษะที่
ไหล่คลอดยาก
อาการเเละอาการเเสดง
ทารกจะมีอาการหงุดหงิดหรือร้องไห้เมื่อสัมผัสบริเวณที่กระดูกหัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจับใต้แขนยกตัวทารกขึ้น
อาจพบว่ามีอาการบวมห้อเลือด (ecchymosis) ตรงบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
ทารกเคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหักน้อยหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
อาจพบปมประสาทใต้ไหปลาร้า (brachial plexus) ของทารกอาจได้รับอันตรายร่วมด้วย
เเนวทางการรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เองค่อนข้างเร็วมักเกิดกระดูกงอกใหม่ภายใน 1สัปดาห์
รักษาโดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหลปลาร้าหักอยู่นิ่ง ๆ โดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาน 10-14 วัน
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
facial
nerve injury
สาเหตุ
การคลอดยาก
การใช้คีมช่วยคลอดทำให้กดเยื่อประสาทสมองคู่ที่ 7(facial nerve injury) ที่ไปเลี้ยงใบหน้า
การตรวจร่างกาย
จากสังเกตสีหน้าของทารกเวลานอน เวลาร้องไห้หรือแสดงสีหน้าทา่ ทาง
อาการเเละอาการเเสดง
มีอาการอัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อใบหน้า มักเป็นด้านเดียว
กล้ามเนื้อด้านที่เป็นอัมพาตจะไม่เคลื่อนไหว ทา ให้หน้าเบี้ยวไปข้างที่ดี
รูปหน้าทงั้ 2 ด้านจะไม่เท่ากัน เห็นได้ชัดเจนเมื่อทารกร้องไห้
ทารกจะลืมตาได้เพียงครึ่งเดียว ตาปิดไม่สนิท
ปากข้างที่เป็นจะถูกดึงลงมาทา ให้มุมริมฝีปากล่างตก
ไม่มีรอยย่นที่หน้าฝาก
เเนวทางการรักษา
ปกติถ้าประสาทที่เลี้ยงใบหน้าเพียงถูกกดอาจหายไปได้เองภายใน 2-3วัน ถึงสัปดาห์
แต่ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทา ศัลยกรรมซ่อมประสาท
บทบาทพยาบาล
ล้างตา หยอดตาตามแผนการรักษาเพื่อป้ องกันไม่ให้เยื่อบุตาตาขาว และกระจกตาของทารกแหง้
ดูแลให้ได้รับนมให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและเฝ้ าระวังการสา ลัก เนื่องจากกล้ามเนื้อใบหน้าเป็นอัมพาต
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
การบาดเจ็บของเส้นประสาทBrachial
สาเหตุ
พบในทารกที่คลอดโดยมีส่วนนา เป็ นก้นหรือคลอดยากบริเวณแขนหรือไหล่จากการที่ดึงไหล่ออกไปจากศีรษะในระหว่างการคลอด
เกิดจากข่ายประสาท Brachial ถูกดึงหรือกด
Erb-Duchenne paralysis
คือ
แขนจะอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าข้างใน
บริเวณข้อมือยังขยับ
แขนข้างนนั้ ส่วนบนไม่ขยับ
กา มือได้ตามปกติ
เป็ นการบาดเจ็บที่เส้นประสาทจาก
กระดูกสันหลังระดับคอท่อนที่ 5 6 (c5-c6)
Klumpke’ s paralysis
คือ
แขนอยู่ในท่าชิดตัวและหมุนเข้าข้างใน
แขนข้างนั้น ส่วนล่างไม่ขยับ
บริเวณข้อมือไม่ขยับ
กระดูกสันหลังตอนคอท่อนที่ 7-8และเส้นประสาทเลี้ยงทรวงอกคู่ที่ 1(c7-c8 และ T1)
กำมือไม่ได้
เป็นการบาดเจ็บที่เส้นประสาทจาก
เเนวทางการรักษา
ทา กายภาพบำบัด
ถ้าไม่หายอาจต้องทำศัลยกรรมซ่อมประสา
ให้แขนไม่เคลื่อนไหว ในท่ากางหมุนแขนออก ข้อศอกตั้งฉากกับลำตัว
ทารกคลอดเกินกำหนด
ความหมาย
ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
ลักษณะของทารกคลอดเกินกำหนด
มีการสะสมไขมันใต้ผิวหนังลดลง มีการหลุดลอกของไข ทา ให้ผิวหนังทารกสัมผัสกับน้า ครา่ ทา ให้ผิวหนังเหี่ยวย่น
มีภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ จาก Uteroplacental insufficiency
ผมและเล็บจะยาวขึ้นเรื่อย ๆ
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก เนื่องจากสูญเสียไขมันใต้ผิวหนัง
มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว
รูปร่างผอม มีลักษณะขาดสารอาหาร แต่ตื่นตัว (alert)
หน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป
ทารกคลอดก่อนกำหนด(Preterm baby)เเละน้ำหนักตัวน้อย (Low birth weight infant)
ความหมาย
ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 37สัปดาห์เต็มหรือน้อยกว่า 259 วนัและมีน้า หนักตัวน้อยกว่า 2,500กรัม
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะจะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลา ตัว กะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลกศีรษะและขม่อมกว้าง
น้า หนักตัวน้อย
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังบาวสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า
ไขเคลือบตัว (vernix caseosa) มีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อน (Lanugo hair) ได้ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ผมน้อย
ลายฝ่ามือฝ่ าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสนั้
ผลกระทบต่อทารก
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดพัฒนาไม่เต็มที่ ทา ให้เกิด RDS
ศูนย์ควบคุมการหายใจใน Medulla ยังเจริญไม่เต็มที่ กล้ามเนื้อช่วยการหายใจไม่สมบูรณ์ ทา ให้เกิด Periodic breathing
ระบบประสาท
retinopathy of prematurity
hypothermia and hyperthermia
intraventricular hemorrhage
ระบบหัวใจเเละระบบเลือด
hyperbilirubinemia
patent ductus arteriosus
ระบบทางเดินอาหารเเละภาวะโภชนาการ
necrotizing enterocolitis
malnutrition
ระบบภูมิต้านทาน
sepsis
ระบบเมทตาบอลิซึมเเละต้อมไร้ท่อ
Hypoglycemia
Hypocalcemia
congenital hypothyroidism /
cretinism
บทบาทการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับนมมารดาหรือนมผสมตามแผนการรักษาที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ดูแลและแนะนา มารดาบิดาในการป้ องกันการติดเช้อื ทา ความสะอาดร่างกายทา ความสะอาดสะดือ ป้ ายตาด้วยยาปฏิชีวนะ
ทา ทางเดินหายใจให้โล่ง ให้นอนตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งหรือนอนศีร
ดูแลให้วิตามินเค 1 มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามเนื้อเพื่อป้ องกันภาวะเลือดออกง่าย
ห่อตัวทารกและให้อยู่ใต้ radiant warmer 36.5-37 องศา
เซลเซียส
ทารกเเรกเกิดติดเชื้อ
Treponema pallidum
คือ
ถ้าหากหญิงตงั้ ครรภ์ติดเชื้อนี้ในช่วงอายุครรภ์ก่อน 16 สัปดาห์กลไกการทางานของ Langhan’s epithelial layerของ cytotrophoblast ของรกจะช่วยป้ องกันการติดเชื้อในทารกได้
แต่ถ้าติดเชื้อภายหลัง 16 สัปดาห์Langhan’s epithelial layer จะหายไป ทา ให้ทารกเสี่ยงต่อภาวะcongenital syphilis
Treponema pallidum เป็ นเชื้อที่ทา ให้เกิดโรคซิฟิ ลิส
ภาวะ congenital syphilis เป็นผลมาจากปฏิกิริยาของระบบภูมิคุ้มกันทารก โดยเชื้อว่าทารกที่อายุครรภ์น้อยกว่า 16สัปดาห์ จะไม่ปรากฏอาการเนื่องจากยังไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้เต็มที่
ดังนนั้ ถ้ารักษาในมารดาก่อนอายคุ รรภ์ 16 สัปดาห์ สามารถป้ องกันทารกจากภาวะ congenital syphilis ได้
อาการเเสดงของภาวะcongenital syphilis
น้าหนักตัวน้อย ศีรษะเป็นรูปสี่เหลี่ยม หน้าผากโหนก จมูกแบน จมูกบี้ ตาอักเสบ ตับโต ม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วตัว ซีด ผิวหนังที่ผ่ามือฝ่าเท้าอักเสบเเละลอกเป็นตุ่ม ถเาติดเชื้อรุนเเรงทารกจะเกิดภาวะ hydrop fetalis
เเนวทางการรักษา
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
แยกทารกออกจากทารกคนอื่น ๆ
ส่ง cord blood for VDRL ติดตามผลเลือด
ทารกที่คลอดจากมารดาที่เป็ นโรคซิฟิ ลิส พยาบาลจะต้องสังเกตภาวะ congenital syphilis
ดูแลให้ยา Aqueous penicillin G 50,000 ยนู ิต/กก.ทางหลอดเลือดดา และให้Procaine penicillin G 50,000 ยนู ิต/กก. ทางกล้ามเนื้อ
หัตเยอรมันกับการตั้งครรภ์
คือ
ทารกสามารถติดต่อได้ตงั้ แต่อยู่ในครรภ์ผ่านทางรก
การติดเชื้อไตรมาสแรก พบว่า ทารกมีโอกาสติดเชื้อถึงร้อยละ 80และส่งผลให้เกิด congenital rubella syndrome(CRS)
เกิดจากเชื้อ Rubella Virus
พบทารกติดเชื้อในครรภ์ได้น้อยลงเมื่ออายุครรภ์มากขึ้น
congenital rubella syndrome CRS
สมองพิการและปัญญาอ่อน
ภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ความบกพร่องทางการได้ยิน (หูหนวก)
ความผิดปกติของหัวใจ เช่น PDA
ความผิดปกติทางตา (ต้อกระจก ต้อหิน)
เกร็ดเลือดตา่ ซีด ตบั ม้ามโต
รวมทงั้ ความผิดปกติของโครโมโซม
หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับเชื้อหัดเยอรมันในช่วง 4 เดือนเเรกของการตั้งครรรภ์
กรณีที่ Titer > 1:8 ในระหว่าง GA 1- 16 สปั ดาห์ ควรใหข้ อ้ มูลในการยุติการตั้งครรภ์
ส่งผลให้ทารกแท้ง ตายคลอด หรือพิการแต่กา เนิดได้
เช้อื จะเข้าไปยับยังการแบ่งตัวของ cell ทารกในครรภ์ และทา ให้โครโมโซมของทารกแตก
โรคสุกใส (Chickenpox)
ระยะติดต่อ : ตงั้ แต่ 24 ชม.ก่อนผื่นขึ้นและ 6 วันหลังผื่นขึ้น
ถ้ามีการติดเช้อื ในระยะตงั้ ครรภ์ กรณีดังนี้
ถ้าหญิงตงั้ ครรภ์เป็นสุกใสระยะก่อนคลอด 5 วัน หรือหลังคลอด 2 วันทารกที่เกิดมาอาจเป็นสุกใสชนิดรุนแรงได้
GA 16-20 wks. จะมีผลต่อการพัฒนาการทางสมอง และตา
GA 6-12wks. เกิดความผิดปกติของแขน ขามากที่สุดเช่น แขนขาลีบ
ระยะ 3 เดือนแรกของการตงั้ ครรภ์ อาจทา ให้ทารกในครรภ์พิการได้
เกิดจากเชื้อไวรัส varicella virus
เเนวทางการรักษา
มีบางรายงานแนะนา ว่าควรให้ยา Acyclovir ร่วมกับ VZIG ในทารกแรกคลอด เนื่องจากได้ผลการรักษาดีกว่าการให้ VZIG เพียงตัวเดียว
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อสุกใสภายใน 5 วันก่อนคลอดหรือ 2 วันหลังคลอดควรได้รับ varicella-zoster immunoglobulin(VZIG) ทันทีที่คลอด
ถเามารดามีอาการขณะคลอด มารดาและทารกควรได้รับการแยกกันดูแลจนกระทั่งมารดามีการตกสะเก็ดของตุ่มสุกใสจนหมด และทารกควรไดร้ บั การแยกจากทารกที่คลอดจากมารดาปกติด้วย
โรคหนองในเเท้(Gonorrhea)
คือ
ทารกจะได้รับเชื้อโดยตรงจากมีถุงน้า คร่า แตก หรือผ่านช่องทางคลอดที่ติดเชื้อพบในวันที่ 1-4 หลังคลอด
เช้อื จะเข้าส่ตู าทารกเป็นส่วนใหญ่ ทา ให้ติดเช้อื บริเวณตาของทารก(gonococcal ophthalmia neonatorum)ทำให้ตาบอดได้
ป้ องกันการติดเชื้อที่ตาโดยการป้ ายตาหลังทารกคลอดทันที เช่น0.5% erythromycinหรือ 1% tetracyclin oinment หรือ หยอดตาด้วย 1% silver nitrate
เกิดจากเชื้อ Neisseria gonorrhea
เเนวทางการรักษา
ต้องเช็ดตาของทารกด้วย NSS หรอื ล้างตาทกุ 1 ชั่วโมงจนกว่าหนองในเเห้ง
ดูแลให้ได้รับยา Cefixin 1 mg/kg ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดาหรือฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของทารกวันละ 1 ครงั้ ติดต่อกัน 7 วนั
โรคเริม
คือ
อาการของทารก ไข้ อ่อนเพลีย การดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ตับ ม้ามโต ชัก บางรายพบมีตุ่มน้ำพองใสๆเล็กๆที่ผิวหนังตามร่างกาย
ทารกหลังคลอดอาจมีการติดเชื้อจากมารดา
เกิดจากเชื้อ Herpes simplex virus
เเนวทางการรักษา
อาการของการติดเชื้อเริม อย่างน้อย 7-10 วันเริมจากการคลอดทางช่องคลอด
แยกทารกออกจากทารกคนอื่น ๆ และดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม อย่างน้อย 7-10 วัน
โรคเอดส์
เเนวทางการรักษา
ตรวจหาการติดเชื้อเพื่อหา viral load ด้วยวิธี real time PCR assay ถา้ พบเชื้อ HIV-RNA ใน 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด แสดงว่าทารกติดเช้อื ตงั้ แต่ในครรภ์ ถ้าตรวจพบใน 6 สัปดาห์ แสดงว่าติดเช้อื ในระยะคลอด
เมื่อทารกครบ 12 เดือน ควรตรวจหาภูมิต้านทานชนิด IgG และ IgM และควรตรวจอีกครั้งเมื่อ 18 เดือน
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเช้อื จะต้องได้รับยา NVP ชนิดน้า ขนาด 6มิลลิกรัมทันทีหรือภายใน 8 -12 ชั่วโมงหลังคลอดร่วมกับ AZT 2มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หลังจากนนั้ จะให้ยา AZT ต่อทุก 2 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการใส่สายยางสวนอาหารในกระเพาะอาหารทารกโดยไม่จา เป็น
คือ
การติดต่อจากมารดาไปส่ทู ารก : ทางรก การสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งจากมารดาขณะคลอด และหลังคลอด และการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา (ร้อยละ 80 เกิดขึ้นใระยะคลอดและหลังคลอด)
การให้ยาต้านไวรัสและการผ่าตัดคลอดก่อนการเจ็บครรภ์สามารถป้ องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัส HIV จากมารดาส่ทู ารกได้
เกิดจากการติดเชื้อ HIV
โรคตับอักเสบบี
เเนวทางการรักษา
ทารกดูดนมมารดาได้ทันทีหลังคลอดโดยไม่จา เป็นต้องรอให้ทารกได้รับวัคซีนก่อน แตห่ ากมารดามีหัวนมแตกให้งดให้บุตรดูดนมเพราะอาจแพร่การกระจายเช้อื สู่ทารกได้
ดูแลให้ทารกแรกเกิดได้รับ HBIG เข้ากล้ามเนื้อโดยเร็วที่สุด ร่วมกับHBV เข็มที่ 1 เข้ากล้ามเนื้อโดยเร็วที่สุดภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด โดยฉีดคนละตา แหน่ง แล้วควรนัดให้มารับวัคซีน HBV ตามกา หนดเข็มที่ 2ตอนอายุ 1 เดือน และให้วัคซีน DTP-HB ตอนอายุ 2, 4, 6 เดือน
เมื่อแรกคลอดดูดมูกและเลือดออกจากปากและจมูกของทารกออกมาให้มากที่สุด และทา ความสะอาดทารกทันทีที่คลอด
แนะนา ให้มารดาพาทารกมาตรวจเลือดตามนัดเมื่ออายุ ๙- ๑๒ เดือน เพื่อตรวจหา HBsAg และ Anti-HBs
คือ
ทารกติดเช้อื จากมารดาได้ตงั้ แต่ในระยะตงั้ ครรภ์ คลอด จนถึงหลังคลอด
หญิงตั้งครรภ์ที่มีผล HBeAg positive จะมีอัตราการถ่ายทอดเช้อืไปส่ทู ารกสูงถึงร้อยละ 90 และหญิงตั้งครรภ์ที่มีผล HBeAg negative จะมีอัตราการถ่ายทอดเชื้อไปส่ทู ารกเพียงร้อยละ 10 - 20
การถ่ายทอดเช้อื : ผ่านเลือด น้า ลาย อสุจิ สิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้า นมและผ่านทางรก
เกิดจาก hepatitis B virus
บทบาทพยาบาล
สังเกตอาการผิดปกติเกี่ยวกับการหายใจและให้การช่วยเหลือเมื่อทารกมีภาวะหายใจลาบาก หรือขาดออกซิเจน
ดูแลและแนะนา เกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของร่างกายทารก
แจ้งอาการและแนวทางการรักษาที่ทารกได้รับแกม่ ารดาบิดา
แยกของใช้ของมารดากับทารกและมีการทา ลายเชื้ออย่างเหมาะสม
ดูแลให้ได้รับนมมารดาและน้า อย่างเพียงพอ เพื่อป้ องกันภาวะขาดน้า การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาสามารถทา ได้ แต่ต้องดูแลเรื่องความสะอาด แนะนา ให้ล้างมือก่อนสัมผัสทารก และป้ องกันมิให้ทารกสัมผัสกับรอยโรค ยกเว้นในรายที่มารดาติดเชื้อ HIVจะต้องงดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและให้นมผสมแทน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ เพื่อประเมินความรุนแรงของการติดเชื้อโดยเฉพาะอุณหภูมิ หากมีไข้ ดูแลเช็ดตัวลดไข้ให้ พร้อมทงั้ แนะนามารดาบิดาและญาติในการเช็ดตัวทารก
ทารกเเรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์
ความหมาย
ทารกแรกเกิดที่มีน้า หนักตัวมากกว่า percentile ที่ 90 หรอืมากกว่า 4,000 กรัมในทารกคลอดครบกา หนด
สาเหตุ
จากมารดาเป็นเบาหวาน
ผลกระทบต่อทารก
คลอดยาก เนื่องจากตัวใหญ่ ทา ให้เกิดการบาดเจ็บจากการคลอดเช่น Brachial paralysis , กระดูกหัก ฯลฯ และขาดออกซิเจนแรกคลอดได้
Hypoglycemia ภายหลังคลอดจากไม่ได้รับน้า ตาลผ่านทางรก
Hyperbilirubinemia จากภาวะเลือดข้น
ภาวะเลือดข้น (Polycythemia)
ภาวะแคลเซียม แมกนีเซียมในเลือดตา่ำ
ความพิการของหัวใจแต่กา เนิด
ผนังกั้นหัวใจห้องล่างมีรูรั่ว หลอดเลือดแดงใหญ่ตีบตนั
นางสาวโสรดา เลบ้านเเท่น เลขที่ 114 รหัส 602701115 ชั้นปีที่ 4