Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Birth Injury) - Coggle Diagram
Birth Injury
Skull Injury
Caput succedaneum
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่่ยนแปลงของก้อน
อธิบายให้มารดาและครอบครัวเข้าใจ
ประเมินการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
บันทึกอาการ
การวินิจฉัย
ศีรษะทารกยาวกว่าปกติ
คลำศีรษะทารกพบก้อนบวม โน นุ่ม กดบุ๋ม ขอบขตไม่ชัดเจน ข้าม suture
อาการและอาการแสดง
ศีรษะทารกยาวกว่าปกติ
มีก้อนโน นุ่ม
การรักษา
2-3 วันจะหายไปเอง
สาเหต
การใช้ V/E
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดศีรษะ
การคั่งของของเหลวในชั้นใต้หนังศีรษะ
Sephal hematoma
การรักษา
จะค่อยๆหายไปภายใน 2 เดือน
ถ้ามีภาวะ Hyperbilirubinemia ให้ส่องไฟ
ถ้าก้อนเลือดขนาดใหญ่ อาจดูดเลือดออก
การคั่งของเลือดใต้เยื้อหุ้มกะโหลกศีรษะ
การพยาบาล
ไม่ใช้ยาทา ยานวด ประคบ หรือเจาะเลือดออกเอง
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเลือดออกในสมอง
สังเกตภาวะซีด
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามก้อนโนเลือด
ตรวจMB
ภาวะแทรกซ้อน
Hyperbilirubinemia
ติดเชื้อจากการดูดเลือดออก
สาเหตุ
ระยะเวลาของการคลอดยาวนาน
ศีรษะกดทับกับช่องทางคลอด
การใช้ V/E
อาการและอาการแสดง
หลัง 24 ชม. เด็กจะค่อยๆซึม
รายที่รุนแรง : ซีด
การวินิจฉัย
พบก้อนโนบนกัโหลกศีรษะ คลำได้ขอบเขตชัดเจน ไม่ข้าม suture กดไม่บุ๋ม
การคลอดยาวนาน ใช้ V/E ช่วยคลอด
Subgaleal hematoma
อาการและอาการแสดง
อาจทำให้ทารกช็อกได้
รุนแรงกว่า Cephal hematoma
ก้อนลักษณะน่วม ข้ามแนวประสานกระดูก
เลือดสะสมใต้ช่องว่างของเนื้อเยื่อรหว่างพงผืดของเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
Intracranial hemorrhage
การรักษา
ให้ออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับนม
Keep warm
ความดันกะโหลกศีรษะสูง > LP
ให้ยากันชักและวิตามินเค
การพยาบาล
Obs. V/S
ดูแลให้ได้รับนม
ให้อยู่ใน Incubator
ดูแลทารกให้พักผ่อน
ดูแลทางเดินหายใจ ให้หายใจสะดวก
ป้องกันอันตรายจากการชัก
ฉีดวิตามินเคให้ทารก
อาการและอาการแสดง
Reflex ลดลง โดยเฉพาะ moro reflex
ซึม ดูดนมไม่ดี
cyanosis
หายใจผิดปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Convulsion
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ขาด O2 เป็นเวลานานในขณะคลอดและหลังคลอด
ได้รับอันตราย หรือกระทบกระเทือนจากการคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
กดศูนย์การหายใจ
ปัญญาอ่อน
Bone Injury
Fracture femur
อาการและอาการแสดง
จับขาข้างที่หักเคลื่อนไหว เด็กจะร้องไห้
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะคลอด
มีอาการบวมในขาข้างที่หัก
การรักษา
กระดูกหักแยกจากกัน : ห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรง ให้ก้นและสะโพกลอย ดึงขาไว้นาน 2-3 Wks.
กระดูกหักไม่แยกจากกัน : ใส่เฝือกขา 3-4 Wks.
ตรวจร่างกาย
ขาข้างที่หักไม่เคลื่อนไหว
ทดสอบ Moro reflex ขาข้างทีี่หักไม่ยก
Fracture humurus
อาการและอาการแสดง
ข้างที่หักจะมีอาการบวม และจะไม่คลื่อนไหว
ถ้าหักแบบสมบูรณ์อาจได้ยินเสียงกระดูกหักหลังคลอด
ตรวจร่างกาย
ทดสอบ Moro reflex เด็กจะไม่งอแขนข้างที่หัก
เมืื่ือจับแขนข้างที่หักขยับจะร้องไห้
การรักษา
หักแบบสมบูรณ์ : จับตรึงแขนกับทรวงอก ศอกงอ 90 องศา หรือใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
กระดูกเดาะ : ตรึงให้แขนแนบกับลำตัวไม่ให้เคลื่อนไหว 1-2 Wks.
Fracture clavicle
ตรวจร่างกาย
ทดสอบ Moro reflex ข้างที่หักจะยกได้ไม่เต็มท่ี่
คลำบริเวณที่หักอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ
การรักษา
ส่วนใหญ่จะหายเองใน 1 Wk.
รักษาด้านที่หักโดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10-14 วัน
อาการและอาการแสดง
แขนข้างที่หักจะเคลื่อนไหวน้อย
อาจพบ brachial plexus ได้รับบาดเจ็บ
อาจมีอาการบวม ห้อเลือด(Ecchymosis)
หงุดหงินหรือร้องไห้เมื่อถูกสัมผัส
Nerve Injury
Brachial nerve injury
ชนิด
Erb Ducen paralysis
แขนข้างนั้นส่วนบนขยับไม่ได้ แต่กำมือได้
บาดเจ็บที่เส้นประสาทจากกระดูกสันหลังที่คอ C5-C6
Klumpke paralysis
ข้อมือขยับไม่ได้ และกำมือไม่ได้
บาดเจ็บที่เส้นประสาทจากกระดูกสันหลังที่คอ C7-C8
การรักษา
ให้แขนไม่เคลื่อนไหว ในท่ากางหมุนแขนออก ข้อศอกตั้งฉากกับลำตัว
ถ้าไม่หายอาจทำศัลยกรรมประสาท
ทำกายภาพบำบัด
การพยาบาล
ตอบสนองความต้องการของร่างกาย
ส่งกายภาพบำบัด
ดูแลให้ส่วนที่ได้รับอันตรายไม่ให้เคลื่อนไหว
ดูแลความสุขสบายทั่วไป และสังเกตว่าปลายนิ้วเย็นหรือไม่
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ตรวจร่างกาย
Erb Ducen paralysis : Grasp raflex ปกติ
Klumpke paralysis : Grasp raflex ผิดปกติ
Facial nerve injury
การรักษา
เส้นประสาทถูกกด : จะหายเองใน 2-3 วัน
เส้นประสาทขาด : ทำศัลยกรรมประสาท
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับนมอย่างเพียงพอ
ล้างตา หยอดตา ไม่ให้ตาขาวหรือกระจกตาของทารกแห้ง
ตรวจร่างกาย
สังเกตจากสีหน้าเวลานอนหรือร้องไห้
อาการแสดง : หน้าข้างที่ดีจะเบี้ยว