Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต, จิดาภา…
6.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
การตรวจร่างกาย
ตรวจ retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า
มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทาลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome
or aortic dissection
ตรวจจอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมิน
ภาวะ increased intracranial pressure
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood)
แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ หมดสติ
หากมีภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection) ให้คลาชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกัน
จากแขนซ้ายและขวา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และการตรวจพิเศษ
ตรวจการทางานของไตจากค่า Creatinine และ
Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ประเมินหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG) และ chest X- ray
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ในรายที่สงสัยความผิดปกติของสมอง ส่งตรวจเอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์
หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การซักประวัติ
ผลข้างเคียงของยาที่ใช้
การสูบบุหรี่
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
ไทรอยด์เป็นพิษ
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
ไตวายเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
Myocardial infarction
Unstable angina
Acute cardiovascular syndromes
Pulmonary edema
hypertensive encephalopathy
Aortic dissection
การรักษา
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจากระดับเดิม 20-30% ภายใน2ชั่วโมงแรกและ160/100มม.ปรอทใน2-6ชั่วโมง
กลุ่มยาที่ใช้รักษาให้ทางหลอดเลือดดามีหลายกลุ่มการเลือกใช้ยาขึ้นอยู่กับอาการ ได้แก่กลุ่ม vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker, angiotensin-converting enzyme inhibitor
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิต
ชนิดหยอดเข้าหลอดเลือดดำ
ยาที่มีใช้ในประเทศไทย เช่น sodium nitroprusside, nicardipine, nitroglycerin
สาเหตุ
ไตวายเฉียบพลันหรือไตวายเรื้อรัง
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทาให้ความดันโลหิตสูง
การพยาบาล
การรักษาด้วยshort-actingintravenousantihypertensiveagents ได้แก่ sodiumnitroprusside แพทย์จะเริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาทีจนสามารถคุมความดันโลหิตได้
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม เช่น การจัดท่านอนให้สุขสบาย การปฏิบัติกิจวัตรประจาวันต่างๆ และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
เพื่อส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกัน
ในผู้ป่วยที่มีสมองขาดเลือด ควรควบคุมความดันโลหิตให้ต่ากว่า 180/105 มม. ปรอทใน 24 ชั่วโมงแรก แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของ
ค่าความดันโลหิตเริ่มต้น
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ากว่า 120 มม.ปรอท ความดันโลหิต DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79 มม.ปรอท
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต และเหตุผลที่ต้องติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝ้าระวังต่างๆ หลังจากควบคุมความดันโลหิตได้แล้วควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยน
การดำเนินชีวิตเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
ความหมาย
ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย (target organ damage)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
พร่องความรู้
Cardiac dysrhythmias
Ventricular tachycardia (VT)
อาการและอาการแสดง
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
ความดันโลหิตตำ่
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
ใจสั่น
การพยาบาล
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิดVTและคลาชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลงให้เตรียม ผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญ
ลดลง
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลาชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทำการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
และเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารนำ้
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
สาเหตุ
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดตำ่
Rheumatic heart disease
Digitalis toxicity
Myocardial infarction
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
ประเภทของ VT
Sustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเปน็ เวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทำให้
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT
VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า30วินาที
Polymorphic VT
VTที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Ventricular fibrillation (VF)
การพยาบาล
การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที
การกดหน้าอก
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
และทำ CPR ทันที
อาการและอาการแสดง
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
หมดสติ
เสียชีวิต
สาเหตุ
Hypothermia
Tension pneumothorax
Hyperkalemia
Cardiac tamponade
Hypokalemia
Toxins
Hydrogen ion (acidosis)
Pulmonary thrombosis
Hypoxia
Coronary thrombosis
Hypovolemia
Atrial fibrillation (AF)
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง
ปอด แขนและขา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
อย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่ สามารถควบคุมด้วยยาได้
ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ(rate control)และจังหวะ (rhythm control)ให้กลับไปสู่sinus rhythm และให้ยา Anticoagulation เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
ใจสั่น
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
สาเหตุ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจรูห์มาติก
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
โรคหัวใจขาดเลือด
hyperthyrodism
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
ประเภทของ AF
Permanent AF
AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
RecurrentAF
AFทีเกิดซำ้มากกว่า1ครั้ง
Persistent AF
AF ที่ไม่หายได้เองภายใน7วันหรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา
หรือการช็อค ไฟฟ้า
Lone AF
AF ที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ
โรคความดันโลหิต สูง
Paroxysmal AF
AF ที่หายได้เองภายใน7วันโดยไม่ต้องใช้ยา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
โดยเฉพาะ ST segment
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจหรือไม่ ถ้าพบให้รายงานแพทย์ทันที
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สาหรับทา synchronized cardioversion
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุของการเกิด
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
Heart failure
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
เส้นเลือดดําที่คอโป่งพอง (Jugular vein distention)
Cardiac murmur
Lung crepitation
การวินิจฉัย
Electrocardiography
สามารถบอกว่ามีความผิดปกติของหัวใจ เช่น หัวใจโต
การตรวจเลือด
Renal function
เพื่อประเมินการทํางานของไต ซึ่งการ ทํางานของไตที่ลดลงอาจ
ทําให้เกิดภาวะน้ําเกิน
Liver function test
ตรวจทํางานของตับ ผิดปกติเนื่องจากมีการคั่งของเลือดในตับ
อาจมีอาการบวมละเหนื่อยง่าย
Complete blood count
เพื่อตรวจหาภาวะซีด ซึ่งอาจทําให้มีอาการเหนื่อยและอาจเป็นปัจจัย กระตุ้นให้ภาวะหัวใจล้มเหลวแย่ลง
Echocardiography
เพื่อยืนยันการวินิจฉัยภาวะหัวใจล้มเหลวและบอกถึงสาเหตุของ
หัวใจล้มเหลว
Chest X-ray, CXR
เพื่อยืนยันภาวะเลือดคั่งในปอด (Pulmonary congestion)
สาเหตุ
Myocardial disease
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
Valvular heart disease
Coronary artery disease
Congenital heart disease
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัย
และการดูแลรักษาผู้ป่วย
ควรติดตามค่าการทํางานของไต ซีรั่ม โซเดียมและซีรั่ม โพแทสเซียม
ทุกวันอย่างน้อย วันละ 1 ครั้ง
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ ใน กรณี Refractory heart failure
End-organ hypoperfusion
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาขับปัสสาวะ
ความดันซิสโตลิกตำ่กว่า 85 มิลลิเมตรปรอท
ควรติดตามความดันโลหิตและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างใกล้ชิด
Cardiogenic shock
ชั่งน้ําหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวันอย่างน้อย
วันละหนึ่งครั้ง
ไม่แนะนําให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่ทราบ Left ventricular filling pressure
เมื่อใช้ยาขับปัสสาวะแล้วผู้ป่วยไม่ตอบสนองหรือไม่สามารถ บรรเทาภาวะคั่งน้ําได้ตามเป้าหมายให้พิจารณาดังนี้
เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง
เพิ่มขนาดของยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดําชนิด Loop diuretic
พิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด
ประเมินผู้ป่วยใหม่
เมื่อใช้แนวทางปฏิบัติข้างต้น แล้วไม่ได้ผลให้พิจารณา Ultrafiltration
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ในกรณีที่มี Pulmonary edema และความดันซิสโตลิกมากกว่า 110 มิลลิเมตรปรอทและไม่มีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติกหรือ ไมทรัลตีบชนิดรุนแรงร่วม
ใช้ Nitroglycerine โดยให้ติดตามความดันโลหิตและอาการผู้ป่วย
อย่างใกล้ชิด
ใช้ Sodium nitroprusside และไม่ควรใช้ Sodium nitroprusside
ในผู้ป่วย Acute myocardial ischemia หรือผู้ป่วยที่มีทํางานของไตลดลง
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดําชนิด Loop diuretic เพื่อลดอาการและอาการแสดงของภาวะคั่งน้ํา
ให้ Tolvaptan ในระยะเวลาสั้น ในผู้ป่วยซึ่งมีภาวะคั่งน้ําและภาวะซีรั่ม
โซเดียมตำ่ซึ่งไม่ตอบสนองด้วยการรักษามาตรฐาน
ควรได้รับการประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ ล้มเหลวตามและแก้ไขสาเหตุเหล่านั้นอย่างทันท่วงทีโดยเฉพาะความผิดปกติทางหัวใจ
ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วยที่ O2 sat น้อยกว่าร้อยละ 90
หรือ pO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน
ควรยึดแนวทางปฏิบัติและคําแนะนําในการดูและรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD) ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อคแม้ได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานข้างต้นอย่างเต็มที่แล้ว
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต
และใช้ Invasive. monitoring ในกรณีดังต่อไปนี้
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
เพื่อประเมินภาวะ Pulmonary hypertension
ความดันซิสโตลิกน้อยกว่า 85 มิลลิเมตรปรอทและ / หรือมี
ภาวะการทํางานของไตเสื่อม
แนะนํา Noninvasive ventilation
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
แบ่งตามอาการและอาการแสดง
ของหัวใจที่ผิดปกติ
Right sided-heart failure
อาการบวม ตับโต
Left sided-heart failure
Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND) ซึ่งเกิดจากความ ดันในหัวใจห้องบนซ้ายหรือห้องล่างซ้ายสูงขึ้น
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
หัวใจล้มเหลวเกิดจากการที่ร่างกาย ต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ
Low-output heart failure
ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้ น้อยลง (Low cardiac output) จนเกิดภาวะหัวใจล้มภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute heart failure)
ภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการเกิดขึ้น ใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
ภาวะหัวใจล้มเหลวและ/หรือมีการทํางานที่ผิดปกติไปของหัวใจคงอยู่เป็นเวลานาน
แบ่งตามการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Diastolic heart failure หรือ
Heart failure with preserved EF
หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับ การบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ โดยทั่วไป ใช้ค่า LVEF มากกว่าร้อยละ 40-50 โดยทั่วไป
Systolic heart failure หรือ
Heart failure with reduced EF
หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่างลดลง โดยทั่วไปใช้ค่า Left ventricular ejection fraction (LVEF) ตำ่กว่าร้อยละ 40
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
Transient
หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะเช่นเกิดขณะมีภาวะหัวใจขาดเลือด
Chronic
หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ หรือ อาการมากขึ้น
New onset
หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรกโดยอาจเป็นแบบเฉียบพลันหรือเกิดขึ้นช้า
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง ควรประเมินจนกว่าอาการจะปกติ
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา เพื่อช่วยลดปริมาตร เลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น ลดอาการเหนื่อยหอบ
ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆ ของผู้ป่วยพร้อมทั้งซักถามความต้องการของผู้ป่วยโดยพยาบาลควรให้เวลาและตั้งใจรับฟังปัญหาอย่าง ต่อเนื่องเพื่อทําให้ทราบและเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น
ช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรง
ให้จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
Shock
Shock management
การรักษาประคับประคอง
(Supportive treatment)
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ําหรือ Vasopressors / inotropes
Airway: ควรทําการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
การรักษาจําเพาะ (Specific treatment) สําหรับภาวะช็อกแต่ละประเภท
Fluid therapy
มีประโยชน์ในช็อกต่อไปนี้
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Hypovolemic shock
Distributive shock
ประเภท
Low cardiac output shock
(Hypodynamic shock)
Cardiogenic shock
Hypovolemic shock
Obstructive shock
High cardiac output shock
(Distributive shock,
hyperdynamic shock)
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Anaphylactic shock
Drug and toxin
Septic shock
อื่นๆ เช่น Post-resuscitation syndrome
ตําแหน่งของหลอดเลือด
ในการให้สารน้ํา
การให้สารน้ําทาง Peripheral vein เมื่อให้ไประยะเวลาหนึ่งหลอดเลือดดําซึ่งเดิมมี Vasoconstriction จะค่อยๆขยายตัว เนื่องจากหลอดเลือดดํามีคุณสมบัติในการรับสารน้ําหรือเลือด
สารน้ําที่ให้ทาง Peripheral vein จะใช้เวลานานกว่าไปถึงหัวใจ ทําให้สารน้ําที่ไปถึงหัวใจใกล้เคียงกับ Core temperature
การให้สารน้ําทาง Peripheral vein ทําได้สะดวกกว่าการให้สารน้ําทาง Central venous catheter
ความหมาย
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ หากรักษาไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลวตามมา
ข้อพึงระวังในการให้ Normal saline
Hypernatremia
เนื่องจาก Saline มี Na 154 mEq/L ในขณะที่ plasma
Hyperchlorermic metabolic acidosis
เกิดจาก การให้ Saline เป็นการให้ Chloride ที่มีปริมาณมากกว่าใน Plasma และร่างกายต้องการรักษา Anion gap
Volume overload
เกิดจากการให้สารน้ําที่เร็วจนเกินไป ในขณะที่ผู้ป่วยไม่มี Concurrent loss หรือ Continuous leakage แล้ว
ข้อพึงระวังในการให้ Ringer's lactate solution
Lactic acidosis
เนื่องจากการให้ RLS ในผู้ป่วยที่ไม่เป็นโรคตับ Lactate ใน RLS จะถูกเปลี่ยนเป็น HCO3- โดยอาศัยตับ
Hyperkalemia
RLS มี K+ 4 mEq / L ซึ่งต้องมีความระมัดระวังในผู้ป่วยที่ปัสสาวะไม่ออก หรือมีแนวโน้มว่า Potassium ในเลือดสูง
Volume overload
เกิดจากการให้สารน้ําที่เร็วจนเกินไป ในขณะที่ผู้ป่วยไม่มี Concurrent loss หรือ Continuous leakage แล้ว
Hypercalcemia
LS มี Ca2+ 3 mEq/L ในผู้ป่วยที่มีแนวโน้มของการเกิด Hypercalcemia ที่เกิดจาก Squamous cell carcinoma, granulomatous disease อาจเกิด Hypercalcemia
ข้อพึงระวังในการให้ Colloids
Renal toxicity
อาจทําให้เกิด Acute kidney injury
Coagulopathy/platelet dysfunction
ความผิดปกติจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือทําให้เกิดอาการทางคลินิก คือ เลือดออก
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
สารน้ําประเภท Colloids เป็นสารประเภท โปรตีน ซึ่งเป็นสารแปลกปลอม เมื่อให้เข้าไปในร่างกายจึงอาจก่อให้เกิดการแพ้ได้
Vasoactive drug
Positive chronotropic effect
ออกฤทธิ์ที่ทําให้อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate) เพิ่มขึ้น
Vasopressor effect
ออกฤทธิ์ที่ทําให้ความต้นทานของหลอดเลือดส่วนปลาย (Systemic vascular resistance, SVR) เพิ่มขึ้น ทําให้ Afterload เพิ่มขึ้น
Positive inotropic effect
ออกฤทธิ์ที่ทําให้การบีบตัวของหัวใจ (Cardiac contractility) ดีขึ้น
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Obstructive shock
ใช้ Norepinephrine ได้ ถ้าความดันโลหิตขึ้นแล้วอาจใช้ Dobutamine
ใช้ Dopamine หากความดันโลหิตตำ่มาก
Septic shock
ควรเลือก Dopamine ถือเป็นข้อยกเว้นในผู้ป่วยที่ มีปัญหา Cardiac contractility และในกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิด Cardiac arrhythmia
Dobutamine ใน Septic shock จะเลือกใช้ต่อเมื่อ Resuscitate ได้
ถ้าให้สารน้ําเพียงพอแล้วความดันโลหิตยังไม่ขึ้น อาจให้ Dopamine หรือ Norepinephrine ควรเลือก Norepinephrine ก่อน
ควรให้สารน้ําก่อน
Cardiogenic shock
ควรเลือก Norepinephrine ได้ หากความดันโลหิตขึ้นแล้ว
อาจใช้ Dobutamine เพื่อเพิ่ม Cardiac contractility
ไม่ควรใช้ Dobutamine เป็นตัวแรกใน ขณะที่เกิด Cardiogenic shock
ควรเลือกใช้ Dopamine หากความดันโลหิตตำ่มาก เช่น Systolic BP ตำ่กว่า 70 มม. ปรอท
Endocrinologic shock
ถ้าความดันโลหิตยังตำ่อยู่ พิจารณาให้ Norepinephrine
ควรให้สารน้ําและให้การรักษา ทดแทนทางฮอร์โมน
Hypovolemic shock
ไม่มีใช้ Vasoactive drugs
Anaphylactic shock
เลือก Epinephrine ก่อนเสมอ เนื่องจากการรักษาต้องการฤทธิ์ ที่กระตุ้น Alpha receptor และ beta receptor
Neurogenic shock
เลือก Dopamine ก่อน เนื่องจาก Neurogenic shock เป็นช็อกที่เกิดจากการ ทํางานของระบบประสาท Sympathetic บกพร่อง จ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีตำ่ลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจ
ลดลง
จิดาภา ตั้งอยู่ดำรงกุล 6001210217 Sec B (10)