Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6.2 การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
บทที่ 6.2 การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
ความหมาย
Target organ damage (TOD)
หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง แก่ การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง หัวใจห้องล่างซ้ายโต ภาวะโปรตีนขับออกมากับปัสสาวะ(microalbuminuria) โรคไตเรื้อรังในระดับปานกลางถึงรุนแรง โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่ยังไม่มีอาการ
Cardiovascular disease (CVD)
หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ โรคหัวใจล้มเหลว โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่มีอาการวมถึงการตรวจหลอดเลือดแล้วพบ Atheromatous plague และรวมถึง Atrial fibrillation
Hypertensive urgency
คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย
Hypertensive emergency
หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
hypertensive crisis
ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า180/120 มม.ปรอท และท าให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย (target organ damage, TOD)
สาเหตุ
Sudden withdrawal of antihypertensive medications
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลท าให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
hypertensive encephalopathy
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
โรคอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง
target organ damage, TOD
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจร่างกาย
ความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD เช่น blurred
vision , change in level of consciousness , coma เป็นต้น
ตรวจจอประสาทตา
cotton-wool spots and hemorrhages
อาการของ oliguria or azotemia
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR)
3.(12-lead ECG) และ chest Xray
การรักษา
ยาลดความดันโลหิตชนิดหยดเข้าหลอดเลือดดำ
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
2.ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิต
3.การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ (Risk for ineffective cerebral tissue perfusion)
2.เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
4.พร่องความรู้ (Deficient knowledge related to lack of previous exposure to information)
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ความหมาย
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic
focus) ใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ทำให้atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้วและคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricle ได้ทั้งหมด
ลักษณะ ECG ไม่สามารถบอก P wave ได้ชัดเจน จังหวะไม่สม่ำเสมอ QRS complex ไม่เปลี่ยนแปลง อัตราการเต้นของ atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
ประเภทของ AF
1.
Paroxysmal AF
หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า (Electrical Cardioversion)
2.
Persistent AF
หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF
หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
4.
Recurrent AF
หมายถึง AF ที่เกิดซ้ ามากกว่า 1 ครั้ง
5.
Lone AF
หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการท า Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular fibrillation (VF)
ความหมาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของ
หัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
ลักษณะ ECG จะไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex ระบุไม่ได้ว่าส่วนไหนเป็น QRS complex
สาเหตุ
1.. Hypovolemia
2.Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
4.Hypokalemia
5.Hyperkalemia
6.Hypothermia
Tension pneumothorax
8.Cardiac tamponade
9.Toxins
10.Pulmonary thrombosis
11.Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีคือ หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
การพยาบาลในผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะทั่วไป
การรักษา VF และ Pulseless VT สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ในกรณีที่ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดงที่วัดจากปลายนิ้ว (O2saturation หรือSpO2) น้อยกว่า 93%
-ในผู้ป่วยที่เป็น Stroke หรือ Acute MI ระดับ SpO2 ที่ปลอดภัยในผู้ป่วยวิกฤตทั่วไปอยู่ระหว่าง 90-94%
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการมีคาร์บอนไดออกไชด์คั่งอยู่ระหว่าง 88-92%
2.ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุน าของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วย
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง(Tissue perfusion) ลดลง
5.ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดไม่รุนแรง (Nonlethal dysrhythmias)
อัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที ให้เตรียมอุปกรณ์สำหรับใส่ temporary pacing
7.ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง (lethal dysrhythmias)
Ventricular tachycardia (VT)
ความหมาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ลักษณะ ECG ไม่พบ P wave ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
ประเภทของ VT
Nonsustained VT
คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาทีซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
3.
Monomorphic VT
คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic V
T หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease)
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
1.นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
3.ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคล าชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Acute Heart Failure (AHF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
1. New onset:
หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก โดยอาจเป็นแบบเฉียบพลัน (Acute onset) หรือเกิดขึ้นช้า (Slow onset)
2. Transient:
หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ เช่น เกิดขณะมีภาวะหัวใจขาดเลือด
3. Chronic:
หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ (Stable) หรือ อาการมากขึ้น (Worsening หรือ Decompensation)
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF
(HFREF)
Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF
(HFPEF)
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
- Left sided-heart failure:
มีปัญหาเกี่ยวกับปอด เช่น Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
- Right sided-heart failure
: เกิดปัญหาที่หัวใจ เช่น อาการบวม ตับโต เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง เป็นต้น
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
1. High-output heart failure:
เกิดจากการที่ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ โดยที่การทำงานของหัวใจอาจจะปกติได้ เช่น ผู้ป่วย ไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1 (Beri Beri heart disease) เป็นต้น
2. Low-output heart failure:
ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง (Low cardiac output) แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
Acute heart failure เกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน เช่น ผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อน
Chronic heart failure พบได้ในผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะ
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease)
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocardial disease)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease)
อาการและอาการแสดง
. อาการเหนื่อย (Dyspnea) เช่น Dyspnea on exertion , Orthopnea , Paroxysmal nocturnal dyspnea, PND เป็นต้น
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (Dependent part)
อ่อนเพลีย (Fatigue)
. แน่นท้อง ท้องอืด
อาการแสดงที่ตรวจพบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
Jugular vein distention
หัวใจโต โดยตรวจพบว่ามีApex beat หรือ Point of Maximum Impulse (PMI) ในผู้ป่วยที่มีหัวใจโต ึ้นจะเลื่อนไปทางรักแร้และลงล่าง
เสียงหัวใจผิดปกติโดยอาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation) จากการที่มีเลือดคั่งในปอด (Pulmonary congestion)
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำ ในช่องท้อง (Ascites)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
(Chest X-ray, CXR)
(electrocardiography)
การตรวจเลือด เช่น Complete blood count (CBC), Renal function เป็นต้น
Echocardiography
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา
การประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจล้มเหลวตามและแก้ไขสาเหตุ
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
เมื่อใช้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic แล้วผู้ป่วยไม่ตอบสนองหรือไม่สามารถบรรเทาภาวะคั่งน้ำได้ตามเป้าหมาย
ประเมินผู้ป่วยใหม่
เพิ่มขนาดของยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง ได้แก่ Thiazide
พิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด
เมื่อใช้แนวทางปฏิบัติข้างต้น (3.1-3.6) แล้วไม่ได้ผลให้พิจารณา Ultrafiltration
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวันอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง
ควรติดตามค่าการทำงานของไต (BUN, creatinine)
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotropes) เช่น Dobutamine
ไม่แนะนำให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotrope) ในผู้ป่วย Acute heart failure
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside
ให้ Tolvaptan (V2-receptor antagonist) ในระยะเวลาสั้น (ไม่เกิน 1-2 สัปดาห์)
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต (Right heart catheterization)
ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน (Right heart catheterization)
ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วยที่ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation) น้อยกว่าร้อยละ 90 หรือ pO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
ไม่แนะนำให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย
แนะนำ Noninvasive ventilation
พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD) ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อค
ควรยึดแนวทางปฏิบัติและคำแนะนำในการดูและรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น (Improve symptoms, especially congestion and lowoutput symptoms)
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ (Optimize volume status)
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ (Identify etiology)
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ (identify precipitating factors)
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position)
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวาย
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ภาวะช้อก (Shock)
Diagnosis of Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ (Poor tissue perfusion) หากรักษาไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว (Organ failure) ตามมา
การแปลผลความดันโลหิต
1. Systolic blood pressure (SBP)
บ่งบอกถึงSystolic function
ถ้าค่า SBP สูง แสดงว่า Systolic function ดี
ถ้าค่า SBP ต่ำ แสดงว่า Systolic function ไม่ดี
2. Diastolic blood pressure (DBP)
เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจคลายตัว บ่งบอกถึง Diastolic function หรือ afterload
ถ้าค่า DBP สูง แสดงว่า Afterload สูง
ถ้าค่า DBP ต่ำ แสดงว่า Afterload ต่ำ
การแบ่งประเภทของช็อก
1. Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
เป็นภาวะช็อกที่ Cardiac output ต่ำ และเป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดตีบ (Vasoconstriction) ส่งผลให้ diastolic blood pressure สูง และ Pulse
pressure แคบทำให้ Systemic vascular resistance (SVR) สูง เช่น Hypovolemic shock , Cardiogenic shock , Obstructive shock
2. High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
เป็นภาว ะช็อกcardiac output สูง และเป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดขยายตัว (Vasodilatation) ส่งผลให้ Diastolic blood pressure ต่ำและ Pulse pressure กว้าง ทำให้ Systemic vascular resistance (SVR) ต่ำ เช่น Septic shock , Anaphylactic shock , Endocrinologic shock เป็นต้น
Shock management
Supportive treatment
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction
ควรทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
3.Obstructive shock
Distributive shock (High cardiac output shock)
Vasoactive drug
Positive inotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้การบีบตัวของหัวใจ (Cardiac contractility) ดีขึ้น
Positive chronotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate) เพิ่มขึ้น
3.Vasopressor effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้ความต้นทานของหลอดเลือดส่วนปลาย (Systemic vascular resistance, SVR) เพิ่มขึ้น ทำให้ Afterload เพิ่มขึ้น
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
1. Hypovolemic shock
โดยทั่วไปไม่มีที่ใช้ของ Vasoactive drugs
2. Cardiogenic shock
ควรเลือกใช้ Dopamine
หากความดันโลหิตต่ำมากเช่น Systolic BP ต่ำกว่า 70 มม. ปรอท อาจเลือก Norepinephrine
หากความดันโลหิตขึ้นแล้ว อาจใช้ Dobutamine เพื่อเพิ่ม Cardiac contractility
3.Obstructive shock
ควรให้สารน้ำก่อน
กรณีที่ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ พิจารณาใช้ Dopamine
หากความดันโลหิตต่ำมาก เช่น Systolic BP ต่ำกว่า 70 มม. ปรอทอาจ
เลือก Norepinephrine
4. Septic shock
ควรให้สารน้ำก่อน
ความดันโลหิตยังไม่ขึ้น อาจให้ Dopamine หรือ ควรเลือก Norepinephrine ก่อน
ส่วนการเลือก Dopamine ถือเป็นข้อยกเว้นในผู้ป่วยที่
มีปัญหา Cardiac contractility และในกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิด Cardiac arrhythmia
Dobutamineใน Septic shock จะเลอกใช้ต่อเมือ Resuscitate ได้
5.Endocrinologic shock
วรให้สารน้ำและให้การรักษา
ทดแทนทางฮอร์โมน หรือให้ยาต้านธัยรอยด์ใน Thyroid storm
6. Anaphylactic shock
เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
7. Neurogenic shock
เลือก Dopamine ก่อน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1. ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพอาการอาการแสดงของ Shock และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยทุก 10 นาที
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 0.9% NSS load จนครบ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ Ceftriazone 2 gm Intravenous drip in 1 hr (Septic shock)
บันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออกเพื่อประเมินหน้าที่การทำงานของไตผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
2. อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
เพื่อเพิ่มความดันโลหิตและผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้น โดยดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเข้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ตรง Antecubital vein โดยใช้ infusion pump
ตรวจวัดความดันโลหิตและอัตราหัวใจเต้นทุก 10 นาทีเมื่อ IV ครบ 1,000 ml
ประเมินผลความดันโลหิต อัตราหัวใจเต้น และไม่มีภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้น
3. เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
ดูแลส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดโดยจัดท่านอนและให้ออกซิเจน
Observe O2 Saturation เพื่อให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนและการแลกเปลี่ยนก๊าซอย่างเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพ O2 Saturation ทุก 15 นาที
4. ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
เพื่อบรรเทาความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ โดยให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้คำอธิบาย ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับภาวะโรคและแผนการรักษา
5. มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
ลดไข้และให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย โดยดูแลเช็ดตัวลดไข้
ประเมินภาวะไข้