Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6.2
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต unnamed…
บทที่ 6.2
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
หมายถึง
ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลัน > 180/120 mm.HG และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย (target organ damage, TOD)
-
-
-
การตรวจร่างกาย
-
น้ำหนัก, ส่วนสูง, รอบเอว, BMI
-
-
-
การพยาบาล
-
-
-
-
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต และการติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝ้าระวังต่างๆ
-
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
-
-
-
-
การพยาบาล
-
-
-
-
-
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
คือ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
-
-
-
-
การพยาบาล
-
V/S, ความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
-
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทำการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
-
Ventricular fibrillation (VF)
คือ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
-
-
-
-
-
-
Acute Heart Failure (AHF)
-
-
-
การวินิจฉัย
Chest X-ray, CXR
เพื่อยืนยันภาวะเลือดคั่งในปอด ภาวะที่มีความผิดปกติของหัวใจและตรวจหาความผิดปกตที่อาจบ่งชี้ถึงโรคปอดที่เป็นสาเหตุของอาการเหนื่อย
-
การตรวจเลือด
-
Renal function
การตรวจ BUN, creatinine เพื่อประเมินการทํางานของไต
LFT
ดูความผิดปกติของตับ เนื่องจากมีการคั่งของเลือดในตับ (Hepatic congestion) และผู้ป่วยตับแข็ง (Cirrhosis) อาจมีอาการบวมละเหนื่อยง่าย
-
-
-
การพยาบาล
-
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้จํากัดประมาณ 800-1,000 cc./day
-
-
-
-
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest ช่วยเหลือทํากิจกรรม
-
Shock
-
-
-
-
-
-
-
Vasoactive drug
-
-
การเลือกใช้
-
Cardiogenic shock
-
-
ไม่ควรใช้ Dobutamine เป็นตัวแรกในขณะที่เกิด Cardiogenic shock ยกเว้นแต่ในกรณีที่คิดว่าภาวะช็อกเกิดจาก Cardiac contractility
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
-
ตรวจวัดความดันโลหิตและอัตราหัวใจเต้นทุก 10 นาทีเมื่อ IV ครบ 1,000 ml.
-
-
-
-