Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ Health system and Health…
บทที่ 4
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
Health system and Health Economics
แนวคิดเรื่องสุขภาพ
สาธารณสุข (Health)
สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจและทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
Health economics
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด
Resources are scarce
เกิดความขาดแคลน
‘Scarcity’
การแก้ปัญหาการขาดแคลน คือ
การตัดสินใจหาทางเลือก
Choice is inevitable
ทางเลือกที่เกิด
ประสิทธิภาพ
Efficiency
ทางเลือกที่เกิดความ
เป็นธรรม
Equity
ความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัด
Wants (needs) are ‘infinite’
เศรษฐศาสตร์
(Economics)
สังคมศาสตร์
(Social science)
สาธารณสุข
(Health)
วิทยาศาสตร์สุขภาพ
(Health science)
องค์ประกอบและคำถาม
สุขภาพ (Health)
สุขภาพคืออะไร
มีการให้คุณค่าอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าทั่วไป
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
(Health care system)
มีระบบการทำอย่างไร
ปัจจัยและวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต
การดำเนินการทางด้านการ
รักษาพยาบาล(Health care service)
ผู้ป่วยควรจ่ายเท่าไหร่
โรงพยาบาลควรจะคิดเท่าไหร่
•ผลิตอะไร What?
•ผลิตอย่างไร How?
•ผลิตเพื่อใคร For whom?
ต้นทุน
ประโยชน์และนโยบาย
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ
สุขภาพ
ปัจเจกบุคคล
สภาพแวดล้อม
กายภาพ/ชีวภาพ
นโยบายสาธารณะ
เศรษฐกิจ/การเมือง
วัฒนธรรม/ศาสนา
ประชากร/การศึกษา
ความมั่นคง
การสื่อสาร/คมนาคม
เทคโนโลยี/องค์ความรู้
กรรมพันธ์ุ
ความเชื่อ
พฤติกรรม
จิตวิญญาณ
วิถีชีวิต
ระบบบริการ
สาธารณสุข
การแพทย์&สาธารณสุข
กระแสหลัก
การแพทย์แผนไทย&
พื้นบ้าน
บริการส่งเสริม&ป้ องกัน&
รักษา&ฟื้นฟู
การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ
ระบบบริการสุขภาพType of health care system)
ระบบสุขภาพ (Health care system)
ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิง และไม่อนุญาตให้มีกลไกการตลาดใดๆ ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน
รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการสุขภาพมาก เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุมประชาชนสามารถรับบริการโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
รัฐได้เข้ามาแทรกแซง กลไกการตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลายๆทาง รัฐมีส่วนรับผิดชอบเรื่องสุขภาพของประชาชน
ด้านค่าใช้จ่าย
ในการรักษาพยาบาล
การฉีดวัคซีนป้องกันโรค
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม
รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกการตลาดน้อย หน่วยบริการส่วน
ใหญ่เป็นเอกชน เป็นความรับผิดชอบของบุคคลที่จะดูแลตัวเอง
รัฐรักษาระดับมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำของประชาชน
จัดหาสาธารณูปโภคให้แก่ประชาชน
รักษากฎหมาย
องค์ประกอบด้านการจัดบริการสุขภาพ
(Deliver services component)
primary care
PHC
secondary care
self care
excellence center tertiary
การเข้าถึงบริการ
(Accessibility)
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability)
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility)
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)
ความสามารถในการจ่าย (Affordability)
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability)
กรอบสุขภาพ: องค์ประกอบที่พึงประสงค์
system building blocks
ระบบบริการ
กำลังคนด้านสุขภาพ
เทคโนโลยีการแพทย์
ระบบข้อมูลข่าวสาร
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
ภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล
เข้าถึงครอบคลุม
overall goals / outcomes
ความเป็นธรรม
ตอบสนองความต้องการ
กันความเสี่ยงสังคมและการเงิน
ประสิทธิภาพการบริการ
คุณภาพและความปลอดภัย
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค (Macroeconomic study)
การศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study)
การศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมของผู้รับบริการ
พฤติกรรมของผู้ให้บริการ
พฤติกรรมของในตลาดสุขภาพ
Health
economics
การบริหารจัดการระบบ
(System management)
ผู้วางแผน (Planner)
ผู้กำหนดนโยบาย (Policy maker)
Clinical
economics
การบริหารจัดการกับผู้รับบริการ
(Patient management)
ผู้ให้บริการ
(แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข)
ความปลอดภัย
(Safety)
Side effect?
Acceptable?
สัมฤทธิผล
(Efficacy)
Can it work?
(ดีหรือไม่)
ประสิทธิภาพ
(Effectiveness)
Does it work?
(ใช้ได้หรือไม่)
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ
การว่างงาน
ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ
การควบคุมโรคโรคระบาด
การสุญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
มีจุดหมายหลักไม่ใช่การแสวงหา
กำไรสูงสุดแต่เพื่อการกระจายบริการให้
ทั่วถงึที่สุดและเพื่อยกระดับสถานะสุขภาพ
อนามัยของประชาชนให้ได้ผลสูงสุด
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ
ความจำเป็น
(Need)
ลักษณะทางประชากร
จำนวนประชากร
(Population No)
กลุ่มอายุและเพศ (Age
and Sex group)
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม
รายได้ (Incomes)
การศึกษา (Education)
อาชีพ (Occupation)
พื้นที่อยู่อาศัย (Area)
ลักษณะด้านสุขภาพ
การเจ็บป่วย (Morbidity)
การตาย (Mortality)
ความรุนแรงของโรค
(Disease severity)
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เพื่อการจัดบริการสุขภาพ
มีทักษะด้านการบริหารจัดการ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทาน
ช่วยในการจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ
(อุปทานของบริการทางการแพทย์)
ทำให้เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุข
ในการเลือกรับบริการรักษา บริโภคยา หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ
ให้เข้าใจแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ
อุปสงค์
(Demand)
อุปทาน(Supply)
การใช้บริการ
(Utilisation)
<==>
น.ส.กนกวรรณ กันชัย เลขที่ 2 ห้อง1A