Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
Target organ damage (TOD)
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง ได้แก้ สมอง หัวใจ ไต ตา
Cardiovascular disease (CVD)
โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hypertensive emergency
ะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
. Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
hypertensive encephalopathy
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
การเป็นโรคประจำตัว ความสม่ำเสมอในการรับประทานยามีอาการเจ็บหน้าอก การขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
โรคหลอดเลือดสมอง อาการชา ปากเบี้ยว ยกแขนไม่ขึ้น พูดไม่เป้รคำแม้แต้คำง่ายๆ
ตรวจจอประสาทตา retina พบ cotton-wool spots and hemorrhages
Chest pain
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood) แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection) ให้คลำชีพจรและวัดความดันแขนทั้ง 2 ข้างแล้วมาเทียบกัน ด้านที่มีพยาธิสภาพจะเบา
การรักษา
คือลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจากระดับเดิม 20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยา sodium nitroprusside ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของตับและไตบกพร่อง ดูแลไม่ให้ยาโดนแสง หากยาเปลี่ยนสีไม่ควรให้ยา
ไม่แนะนำให้ใช้ยา Nifedipine ทั้งทางปากและบีบใส่ใต้ลิ้น เพราะความดันโลหิตอาจลดต่ำลงมากเกินไปจนไม่สามารถควบคุมได้
การพยาบาล
ติดตามความดันโลหิต ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ ากว่า 120มม.ปรอท ความดันโลหิต DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79 มม.ปรอท
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
Cardiac dysrhythmias
ถ้าอัตราการเต้นของ ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า rapid ventricular response
ประเภทของ AF
การพยาบาล
การเกิดลิ่มเลือด AF ท าให้เกิดเลือดแข็งตัวในหัวใจห้องบนซ้ายซึ่งมีโอกาสหลุดไปในกระแสเลือด ทำให้เกิดstroke เป็นอัมพาตหรืออัมพฤกษ์และทำให้เกิด pulmonary embolus
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
Nonsustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาทีซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT
QRS complex ไม่เป็นรูปแบบเดียว
อาการและอาการแสดง
รู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
คลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
Ventricular fibrillation (VF)
ไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขผู้ป่วยจะหัวใจหยุดเต้นทันที
อาการและอาการแสดง
หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
การพยาบาล
VF และ Pulseless VT สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
หัวใจล้มเหลว (Heart failure)
ชนิด
แบ่งตามเวลา
New onset
ครั้วแรก และเฉียบพลัน
Transient
มีอาการชั่วขณะ
Chronic
เรื้อรัง และมีอาการคงที่หรือเป็นมากขึ้น
การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF (HFREF)
Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF (HFPEF)
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure
Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND) ซึ่งเกิดจากความ ดันในหัวใจห้องบนซ้ายหรือห้องล่างซ้ายสูงขึ้น
Right sided-heart failure
บวม ตับโต
ตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
ผู้ป่วยไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1 (Beri Beri heart disease)
Low-output heart failure
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute heart failure) ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
อาการแสดงที่ตรวจพบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง (Jugular vein distention)
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation) จากการที่มีเลือดคั่งในปอด (Pulmonary congestion)
. ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำ ในช่องท้อง (Ascites)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
แนวทางเวชปฏิบัติ
การประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้น
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotropes) เช่น Dobutamine หรือ Milrinone ใน
กรณี Refractory heart failure
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต (Right heart catheterization)
ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วยที่ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation) น้อยกว่าร้อยละ 90 หรือ pO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest โดยช่วยเหลือทำกิจกรรมให้ผู้ป่วยในระยะที่ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position) หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง ลดอาการหอบเหนื่อย
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง : ควรประเมินจนกว่าอาการจะปกติ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิมคือ ตอนเช้าหลังถ่ายปัสสาวะเพื่อประเมินภาวะน้ำเกิน
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
ช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
Shock
การแบ่งประเภท
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
เกิดจากการตีบของหลอดเลือด
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
เกิดจากการขยาดของหลอดเลือด
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
ควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง Central venous
catheter
การให้สารน้ำ (Fluid therapy)
Crystalloids
Normal saline,
Ringer's lactate solution,
Ringer'sacetate solution
ข้อพึงระวัง
Normal saline
Volume overload
Hypernatremia
Hyperchlorermic metabolic acidosis
Ringer's lactate solution
Volume overload
Lactic acidosis
Hyperkalemia
Hypercalcemia
Colloids
ข้อพึงระวัง
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity
Coagulopathy/platelet dysfunction
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Hypovolemic shock
ไม่มี
Cardiogenic shock
ควรเลือกใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ำมาก
อาจเลือก Norepinephrine ได้ (Selected case)หากความดันโลหิตขึ้นแล้ว
อาจใช้ Dobutamine เพื่อเพิ่ม Cardiac contractility
Obstructive shock
ควรให้สารน้ำก่อน
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ Dopamine
Septic shock
ควรให้สารน้ำก่อน
ถ้าไม่ดีอาจให้ Dopamine หรือ Norepinephrine ควรเลือก Norepinephrine ก่อน
Anaphylactic shock
เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ