Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
Hypertensive crisis
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or Chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการ
ปวดศีรษะ
การมองเห็นผิดปกติ
สับสน
คลื่นไส้
อาเจียน
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
ประเมินการตอบสนองตลอดเวลา
ให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการรักษา
การรักษา
รักษาในICUทันที
ให้ยาลดความดันโลหิต ชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
Cardiac dysrhythmias
AF Atrial fibrillation
ภาวะที่หัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
จุดปล่อยกระแสไฟฟ้าใน Atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่
และไม่สม่ำเสมอกัน
สาเหตุ
หัวใจขาดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
อาการ
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
Ventricular tachycardia (VT)
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ventricle เป็นจุดก าเนิดการเต้นของ
หัวใจ
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พิษจากยาดิจิทัลลิส
อาการ
ใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
คล าชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุ
Cardiac tamponade
Hypovolemia
Hypoxia
Hypokalemia
Hyperkalemia
อาการ
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุนำของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามผลข้างเคียงของยา
Acute Heart failure
สาเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติแต่กำเนิด
ความผิดปกติที่ลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
อาการ
เหนื่อยขณะออกแรงและขณะนอนราบ
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
อ่อนเพลีย
แน่นท้อง ท้องอืด
การรักษา
ประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดํา
ชั่งน้ําหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output
ควรติดตามค่าการทํางานของไต
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด
ให้ Tolvaptan (V2-receptor antagonist) ในระยะเวลาสั้น
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต
Shock
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
Observe O2
ดูแลส่งเสริมการไหลเวียน
ประเมินสัญญาณชีพและออกซิเจน ทุก 15นาที
มีไข้จากการติดเชื้อในกระแสเลือด
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ ให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย
ประเมินภาวะไข้
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวล
บรรเทาความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติโดยให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้คำอธิบายตอบคำถามเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed
ดูแลให้รับยาตามแผนการรักษา
ตรวจวัดความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ
ประเมินผลความดันโลหิต
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลง
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำจนครบ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
บันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออก
ประเภท
Low cardiac output shock
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Obstructive shock
High cardiac output shock
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Drug and toxin