Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
ที่มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิกตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอท และความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท
Target organ damage (TOD) หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง ได้แก่ การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Cardiovascular disease (CVD) หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ โรคหัวใจล้มเหลว
Hypertensive urgency คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤตที่ท าให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy จะมีอาการปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
โรคความดันโลหิตสูง ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาผลข้างเคียงของยาที่ใช้
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
โรคของต่อมหมวกไต และโรคไทรอยด์เป็นพิษ
การตรวจร่างกาย
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
ตรวจจอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ตรวจ retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vesselsและ retina nerves ถูกท าลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
การรักษา
ยา sodium nitroprusside
ควรเก็บให้พ้นแสง ขณะที่ให้ยาห้ามโดนแสง
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
ยา Nitroglycerin
เมื่อผู้ป่วยบ่นปวดหัวแนะนำให้ใช้ยาพาราเซตามอล
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic,cardiac, and renal systems
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ำกว่า 120 มม.ปรอท
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง ได้แก่ ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน ระดับความรู้สึกตัวลดลง(Time, place, person) สับสน
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside แพททย์จะเริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการท ากิจกรรม เช่นการจัดท่านอนให้สุขสบาย
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ (Risk for ineffective cerebral tissue perfusion)
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF) คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
ไม่สามารถบอก P wave
QRS complex ไม่เปลี่ยนแปลง
atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
ถ้าอัตราการเต้นของventricle 60-100 ครั้ง/นาที เรียกว่า controlled response
ถ้าอัตราการเต้นของ ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า rapid ventricular response
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ ามากกว่า 1 ครั้ง
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจ
อักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
การเกิดลิ่มเลือด AF ทำให้เกิดเลือดแข็งตัวในหัวใจห้องบนซ้ายซึ่งมีโอกาสหลุดไปในกระแสเลือด
ทำให้เกิดstroke เป็นอัมพาตหรืออัมพฤกษ์และทำให้เกิด pulmonary embolus
ให้ยา Anticoagulation เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers,amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำCardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่
สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ
ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ไม่พบ P wave
ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที VT อาจ
เปลี่ยนเป็น VF
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumaticheart disease)
ถูกไฟฟ้าดูด ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่่ำพิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันทีผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่องDefibrillator
ทำCPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
จะไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
สาเหตุที่ทำให้เกิด VF และ Pulseless VT
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
อาการและอาการแสดง
หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุนำของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment เพื่อประเมินภาวะ Myocardial tissue perfusion
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion
หัวใจล้มเหลว (Heart failure)
เป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วยอาการและอาการแสดงที่เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างหรือการทํางานของหัวใจ
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
การแบ่งกลุ่มหัวใจล้มเหลวสามารถแบ่งได้หลายกลุ่ม เช่น แบ่งตามเวลาการเกิดโรค การทํางานของ
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset: หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
Transient: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ เช่น เกิดขณะมีภาวะหัวใจขาดเลือด
Chronic: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ (Stable)
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure
การบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่าง (Left ventricle) ลดลง
Diastolic heart failure
การคลายตัวของหัวใจ เลือดที่ผนังลดลงครั้งสุดท้าย
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure
อาการเกี่ยวกับปอด หายใจหอบเหนื่อย เวลากลางคืนสะดุ้งตื่น ไอ มีเสมหะสีชมพู
Right sided-heart failure
อาการบวม ตับโต เส้นเลือดดำที่คอโป่งตึง
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ
ผู้ป่วย ไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1 (Beri Beri heart disease)
Low-output heart failure
ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง (Low cardiac output)
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute heart failure)
ผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อนได้แก่ ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
พบได้ในผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได้
ถ้าผู้ป่วยมีอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวมาระยะเวลาหนึ่ง กรณีที่มีอาการคงที่จะจัดอยู่ในกลุ่ม Stable chronic heart failure
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อย (Dyspnea) เป็นอาการสําคัญของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (Dependent part) เช่าเท้า ขา
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ (Hepatic congestion)
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
หัวใจโต โดยตรวจพบว่ามีApex beat หรือ Point of Maximum Impulse (PMI) ในผู้ป่วยที่มีหัวใจโต
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation) จากการที่มีเลือดคั่งในปอด (Pulmonary congestion) ในผู้ป่วยบางรายอาจมีเสียงหายใจวี๊ด (Wheezing)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray, CXR)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography)
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมีดังนี้
ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันควรได้รับการประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ
ล้มเหลวตามและแก้ไขสาเหตุเหล่านั้นอย่างทันท่วงทีโดยเฉพาะความผิดปกติทางหัวใจ
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดําชนิด Loop diuretic
ชั่งน้ําหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวันอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง
เมื่อใช้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดําชนิด Loop diuretic แล้วผู้ป่วยไม่ตอบสนอง
ประเมินผู้ป่วยใหม่
เพิ่มขนาดของยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดําชนิด Loop diuretic
เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง ได้แก่ Thiazide หรือ aldosterone antagonist
พิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด (Intravenous inotrope) หรือยาขยายหลอดเลือด (Vasodilator)
ควรติดตามค่าการทํางานของไต (BUN, creatinine)
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotropes) เช่น Dobutamine หรือ Milrinone
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต (Right heart catheterization)
ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วยที่ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation)
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น (Improve symptoms, especially congestion and low-
output symptoms)
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ําเกินหรือขาดน้ํา (Optimize volume status)
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ (Identify etiology)
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้อาการกําเริบ (identify precipitating factors)
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position)
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ยาดิจิทาลิส (Digitalis) ทําให้ กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวมากขึ้นจึงช่วยเพิ่มปริมาตรเลือดที่ออก
จากหัวใจในการให้ยาดิจิทาลิส
ยาโดปามีน (Dopamine) เป็นยากระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงขึ้น
ยาไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerine) ช่วยขยายหลอดเลือดดําและหลอดเลือดแดงบริเวณส่วนปลายทําให้ช่วยเพิ่มปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจได้
ยาขับปัสสาวะ เพื่อช่วยลดปริมาตรเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจโดยช่วยให้มีการขับปัสสาวะ
เพิ่มขึ้น ยาที่นิยมคือ Lasix
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวายได้ดังนี้ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆ
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ (Poor tissue perfusion) หากรักษา
ไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว (Organ failure) ตามมา
การแปลผลความดันโลหิต
Systolic blood pressure (SBP)
เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจบีบตัว
Diastolic blood pressure (DBP)
เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจคลายตัว
ความแตกต่างของ systolic blood pressure และ diastolic blood pressure เรียกว่า pulse
pressure
ค่า Pulse pressure ที่กว้าง บ่งบอกว่า Stroke
volume และ Cardiac output สูง
ส่วนค่า Pulse pressure ที่แคบ บ่งบอกว่า Stroke volume และ Cardiac
output ต่ํา
Mean arterial pressure (MAP)
ไม่ได้หมายความว่าเป้าหมายของการรักษาอยู่ที่ Systolic blood pressure 90 มม. ปรอท
Mean arterial pressure ให้อยู่ที่ 65 มม. ปรอท ใน
ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตปกติมาก่อน
การแบ่งประเภทของช็อก (Classification of shock)
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
เป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดตีบ (Vasoconstriction) ส่งผลให้ diastolic blood pressure สูง และ Pulse
pressure แคบทําให้ Systemic vascular resistance (SVR) สูง
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Obstructive shock ไดแก่ Cardiac tamponade, massive pulmonary embolism,
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
เป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดขยายตัว (Vasodilatation) ส่งผลให้ Diastolic blood
pressure ต่ําและ Pulse pressure กว้าง
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis, thyroid storm
Neurogenic shock
Drug and toxin ได้แก่ ยาที่มีฤทธิ์ทําให้หลอดเลือดขยายตัว (Vasodilatation effect)
Shock management
การรักษาจําเพาะ (Specific treatment) สําหรับภาวะช็อกแต่ละประเภท
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction ควรทําการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ําหรือ Vasopressors / inotropes
Type of shock
Hypovolemic shock
Hemorrhage: trauma, GI bleeding,
retroperitoneal bleeding
Dehydration: vomiting, diarrhea,fistula
Third space loss: burns , SIRS ( eg .Sepsis , acute pancreatitis )
Management
Fluid therapy, blood transfusion, endoscopic
or surgical correction (if indicated)
Cardiogenic shock
Myocardial infarction
Myocarditis
Cardiomyopathy
Valvular failure
Management
Inotropic drugs, vasopressor ( IABP)
Obstructive shock
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Constrictive pericarditis
Management
Intercostal drainage (ICD), fluid therapy
Pericardiocentesis, fluid therapy, inotropes /
vasopressor
Pericardial window, fluid therapy. inotropes /
vasopressor
Distributive shock
Septic shock
Anaphylactic shock
Adrenal insufficiency
Neurogenic shock
Drugs
Management
Fluid therapy, vasopressors / inotropes
Epinephrine, fluid therapy, H1 / H2 blocker,
steroids (for prevent late phase reaction)
Hydrocortisone, fluid therapy, vasopressors
Vasopressors, inotropes, fluid therapy,
surgical correction (if indicated)
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock (High cardiac output shock)
ตําแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ํา
การให้สารน้ําทาง Peripheral vein ทําได้สะดวกกว่าการให้สารน้ําทาง Central venous catheter
สารน้ําที่ให้ทาง Peripheral vein จะใช้เวลานานกว่าไปถึงหัวใจ ทําให้สารน้ําที่ไปถึงหัวใจใกล้เคียงกับ
Core temperature ในขณะที่การให้สารน้ําผ่านทาง Central venous catheter
Crystalloids
Crystalloids ที่ใช้ในการ Resuscitation คือ Normal saline, Ringer's lactate solution, Ringer's acetate solution
Normal saline เป็นสารน้ําที่นิยมใช้กันมากที่สุดในการแก้ไขภาวะช็อก อย่างไรก็ตามการให้มีข้อพึงระวัง
Volume overload เกิดจากการให้สารน้ําที่เร็วจนเกินไป ในขณะที่ผู้ป่วยไม่มี Concurrent loss หรือ
Continuous leakage แล้ว
Hypernatremia เนื่องจาก Saline มี Na 154 mEq/L ในขณะที่ plasma มี Na 135-145 mEq/L
การให้ Ringer's lactate solution มีข้อควรระวังดังนี้
Volume overload เกิดจากการให้สารน้ําที่เร็วจนเกินไป
Lactic acidosis โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคตับ เนื่องจากการให้ RLS ในผู้ป่วยที่ไม่เป็นโรคตับ
การให้สารน้ําชนิด Colloids
ปริมาณน้ําในหลอดเลือด (Intravascular volume) เพิ่มขึ้น
เร็วกว่า Crystalloids แต่ก็มีผลข้างเคียงหลายประการ
Renal toxicity อาจทําให้เกิด Acute kidney injury
Vasoactive drug
เป็นยาที่ใช้ในการเพิ่มการทํางานของหัวใจ และเพิ่มความต้านทานของหลอดเลือด
Positive inotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทําให้การบีบตัวของหัวใจ (Cardiac contractility)
Positive chronotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทําให้อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate) เพิ่มขึ้น
Vasopressor effect เป็นฤทธิ์ที่ทําให้ความต้นทานของหลอดเลือดส่วนปลาย (Systemic vascularresistance, SVR) เพิ่มขึ้น ทําให้ Afterload เพิ่มขึ้น
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Hypovolemic shock โดยทั่วไปไม่มีที่ใช้ของ Vasoactive drugs
Cardiogenic shock ในขณะที่ความดันโลหิตยังต่ําอยู่ ควรเลือกใช้ Dopamine
อาจเลือก Norepinephrine ได้ (Selected case)
อาจใช้ Dobutamine เพื่อเพิ่ม Cardiac contractility
Obstructive shock ควรให้สารน้ําก่อน ถ้ามีหลักฐานว่า Right ventricle พิจารณาใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ํามาก
Septic shock ควรให้สารน้ําก่อน ถ้าให้สารน้ําเพียงพอแล้วความดันโลหิตยังไม่ขึ้น อาจให้ Dopamineหรือ Norepinephrine ควรเลือก Norepinephrine
Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis และ Thyroid storm ควรให้สารน้ําและให้การรักษาทดแทนทางฮอร์โมน
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
Neurogenic shock เลือก Dopamine ก่อน เนื่องจาก Neurogenic shock
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ําลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)