Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.2 ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาวธัญวรรณ วรรณา 6001211115 เลขที่ 49…
6.2 ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง (target organ damage, TOD)
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
ไตวายเฉียบพลัน
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
ตรวจจอประสาทตา
ตรวจ retina
Chest pain
อาการของ oliguria or azotemia
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ตรวจการทำงานของไต
ประเมินหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG) และ chest Xray
ในรายที่สงสัยความผิดปกติของสมอง ส่งตรวจเอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การรักษา
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดหยดเข้าหลอด
เลือดดำ
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ติดตามอาการไม่พึงประสงค์
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
พร่องความรู้
Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF AF ที่หายได้เองภายใน 7 วัน
Persistent AF AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน
Permanent AF AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี
Recurrent AF AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คล าชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
Nonsustained VT VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
Monomorphic VT VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
โรคหัวใจรูห์มาติก
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พิษจากยาดิจิทัลลิส
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จ านวนปัสสาวะ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
VT และคลำชีพจร ให้เตรียม
ผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
VT และคลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
ท า CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
เสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพ
ทำ CPR ทันที
สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุนำของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษา
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย
Acute Heart Failure (AHF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset
Transient
Chronic
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure
Diastolic heart failure
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure
Orthopnea หรือ Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
Right sided-heart failure
อาการบวม ตับโต
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
ผู้ป่วย ไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1
Low-output heart failure
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute heart failure)
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด
อาการแสดงที่ตรวจพบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
หัวใจโต
เสียงหัวใจผิดปกต
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation)
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำในช่องท้อง (Ascites)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray, CXR)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography)
การตรวจเลือด
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
แนวทางเวชปฏิบัติ
ได้รับการประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจล้มเหลวตามและแก้ไขสาเหตุเหล่านั้นอย่างทันท่วงที
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output
ติดตามค่าการทำงานของไต
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด
พิจารณาการสวนหัวใจ
ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วยที่ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Oxygen saturation) น้อย
กว่าร้อยละ 90 หรือ pO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจ
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย
ดูแลจัดการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ
สอนให้สังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
ยํ้าเน้นถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัดทุกครั้งตามแผนการรักษา
ภาวะช้อก (Shock)
การแบ่งประเภทของช็อก
Low cardiac output shock
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Obstructive shock
High cardiac output shock
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Drug and toxin
Supportive treatment
Airway
Breathing
Circulation
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock (High cardiac output shock)
ต่ำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
ควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง Central venous catheter
Vasoactive drug
Positive inotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้การบีบตัวของหัวใจ (Cardiac contractility) ดีขึ้น
Positive chronotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate) เพิ่มขึ้น
Vasopressor effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้ความต้นทานของหลอดเลือดส่วนปลาย (Systemic vascular resistance, SVR) เพิ่มขึ้น ทำให้ Afterload เพิ่มขึ้น
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Hypovolemic shock โดยทั่วไปไม่มีที่ใช้ของ Vasoactive drugs
Cardiogenic shock ในขณะที่ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ ควรเลือกใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ำมาก อาจเลือก Norepinephrine ได้
Septic shock ควรให้สารน้ำก่อน ความดันโลหิตยังไม่ขึ้น อาจให้ Dopamine หรือ Norepinephrine
Obstructive shock ควรให้สารน้ำก่อน ความ
ดันโลหิตยังต่ำอยู่ ใช้ Dopamine
Endocrinologic shock ควรให้สารน้ำและให้การรักษา
ทดแทนทางฮอร์โมน
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
Neurogenic shock เลือก Dopamine ก่อน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
นางสาวธัญวรรณ วรรณา 6001211115 เลขที่ 49 Sec B