Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต - Coggle…
บทที่ 6.2
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
หยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่ทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
Unstable angina
Pulmonary edema
Myocardial infarction
Aortic dissection
Acute cardiovascular syndromes
hypertensive encephalopathy
ซักประวัติ
สาเหตุของความดันโลหิตสูง
อาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ตรวจร่างกาย
EVM
ตรวจ Retina
ความผิดปกติจาก TOD
คลำชีพจรที่เท้าทั้งสองข้างเปรียบเทียบกัน
ผลทางห้องปฏิบัติการ
CBC
eGFR
EKG
Chest X-ray
การรักษา
drip ยาเข้า vein และค่อยๆปรับลดยาหากอาการดีขึ้น ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 mmHg. ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็ว เพราะจะทำให้ความดันผู้ป่วยลดต่ำลงอย่างต่อเนื่อง
ยา
nitroglycerin
ปวดศีรษะให้พารา หาก BP ลดแล้วปรับยาลง
sodium nitroprusside
ห้ามให้ยาโดนแสง สียาเปลี่ยนจะไม่ให้ สังเกตอาการบวม แดง
การพยาบาล
ติดตามอาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ำกว่า 120
mmHg. ความดันโลหิต DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79 mmHg.
รักษาด้วยยา sodium nitroprusside
ช่วยเหลือจัดท่าให้สุขสบาย
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติ
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
พร่องความรู้
Cardiac arrhythmias
Ventricular tachycardia (VT)
ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ
ไม่พบ P wave พบ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้าง
ประเภทของ VT
Polymorphic VT QRS complex ไม่เป็นรูปแบบเดียว
Monomorphic VT QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Sustained VT ต่อเนื่องกัน > 30 วินาที
Nonsustained VT ต่อเนื่องกัน < 30 วินาที
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
Digitalis toxicity
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
เสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
Ventricular fibrillation (VF)
อาการและอาการแสดง
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
อาจเสียชีวิต
จะไม่มี P wave ไม่เห็น QRS complex
การพยาบาล
เตรียมอุปกรณ์ ยา และทำ CPR ทันที ร่วมกับการช็อคไฟฟ้าหัวใจ
ติดตามผลข้างเคียงของยา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจน
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะ Tissue perfusion ลดลง
ติดตามผล V/S EKG
ให้ยา synchronized cardioversion ตามแผนการรักษา
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Coronary thrombosis
Pulmonary thrombosis
ข้อวินิจฉัย
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง
Atrial fibrillation (AF)
QRS ไม่เปลี่ยนแปลง
atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
จุดกำเนิดไฟฟ้าไม่ได้มาจาก SA node ทำให้ P wave มีหลายตัว
Ventricle >100 /min เรียกว่า rapid ventricular response (RVR)
ประเภทของ AF
Lone AF ผู้ป่วยอายุ < 60 ปี
Recurrent AF เกิดซ้ำ > 1 ครั้ง
Permanent AF รักษาแต่ไม่หาย
Persistent AF ต้องใช้ยารักษา
Paroxysmal AF หายเองไม่ต้องใช้ยา
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
hyperthyrodism
การพยาบาล
เตรียมการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง ในผู้ป่วยที่ควบคุมไม่ได้ด้วยยา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน
ประเมิน V/S EKG
Acute Heart Failure
การแบ่งชนิด
ตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic หัวใจบีบเลือดออกมาก
Diastolic หัวใจบีบตัวลดลง พร้อมๆกับคลายตัว
ตามอาการและอาการแสดง
Left sided เกิดกับปอด เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ สดุ้งตื่นกลางคืน
Right sided บวมเป็นหลัก ท้องมานน้ำ ตับโต Neek vein โป่งพอง
ตามเวลาการเกิดโรค
Transient เคยเป็นมาก่อนแล้วมีอาการ เกิดบางครั้ง
New onset อยู่ๆก็มีอาการ เกิดทันที
Chronic อาการคงที่ ควบคุมได้
ตามลักษณะของ Cardiac output
High-output มีเลือดออกมากจากโรคที่ไม่ใช่โรคหัวใจ
Low-output เกิดที่หัวใจโดยตรง
Acute heart failure
เกิดทันทีทันใด
อาการแย่ลงเร็วมาก
ไม่เคยเป็นมาก่อน
Chronic heart failure
ค่อยๆเกิด
เคยเป็นมาก่อนหรือไม่ก็ได้
อาการคงที่ ควบคุมได้
สาเหตุ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ตั้งแต่เกิด
อาการและอาการแสดง
บวม Rt.
อ่อยเพลีย Lt., Rt.
หอบเหนื่อย Lt.
แน่นท้อง ท้องอืด Rt.
อาการและอาการแสดงที่พบได้บ่อย
Crepitation Lt.
ตับโต Lt.
เสียงหัวใจผิดปกติ
บวมกดบุ๋ม Rt.
หัวใจโต
Jugular vein Rt.
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว Lt., Rt.
การวินิจฉัย
EKG ไม่ชัด
ตรวจเลือด บอกแค่หัวใจผิดปกติส่งผลต่ออวัยวะอื่นหรือยัง
Chest X-ray, CXR ไม่ชัด
Echocardiography ชัดที่สุด 100% นิยมมาก
แนวทางการรักษา
ให้ยาขับปัสสาวะ Loop diuretic ดีขึ้น จบ
หากไม่ได้ผลให้เพิ่มยาตัวอื่นช่วย เช่น Thiazide, low-dose dopamine ไม่ได้จริงๆให้ฟอกไต ฟอกเลือด ดึงน้ำออก
ประเมินหาสาเหตุและปัจจัยตามบทบาทพยาบาลก่อน
ชั่งน้ำหนัก ติดตาม I/O
ติดตามผล BUN, Cr
ให้ยากระตุ้นหัวใจ เช่น Dobutamine
ให้้ยาขยายหลอดเลือด Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine
ให้ Tolvaptan
สวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต วิธีสุดท้ายที่จะทำ
ให้ Oxygen supplement ในผู้ที่O2sat < 90% หรือ pO2 < 60 mmHg
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหต
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
การพยาบาล
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
จำกัดน้ำ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา
เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น Bed rest
Shock
การแปลผล
Systolic
ถ้าค่า SBP สูง แสดงว่า Systolic function ดี
ถ้าค่า SBP ต่ำ แสดงว่า Systolic function ไม่ดี
Diastolic
ถ้าค่า DBP สูง แสดงว่า Afterload สูง
ถ้าค่า DBP ต่ำ แสดงว่า Afterload ต่ำ
Mean arterial pressure (MAP)
บอก shock ได้ดีที่สุด
keep < 65 mmHg.
ประเภทของ shock
Low cardiac output shock หลอดเลือดตีบ
High cardiac output shock หลอดเลือดขยาย
Supportive treatment
ประเมิน A, B, C ก่อน
อะไรรุนแรงที่สุด แก้ปัญหาอันนั้นก่อน
Cardiogenic shock
ไม่ให้ IV เนื่องจากหัวใจทำงานไม่ดีจากหัวใจเอง ไม่ได้มาจาก Volume ของหัวใจ จึงไม่ต้องให้สารน้ำ
เลือดในหัวใจเพียงพอและปกติ แต่หัวใจทำงานไม่ปกติ
รักษา ต้องให้ยาไปช่วยกระตุ้นให้หัวใจปั๊มเลือดให้ดีขึ้น
การให้สารน้ำ
ตำแหน่ง
เลือกเส้น Peripheral vein เส้นใหญ่ๆ และอยู่ใกล้หัวใจมากที่สุด
สารน้ำอาจอุณหภูมิเปลี่ยนได้ หากเส้นเลือดอยู่ไกลจากหัวใจ
Colloids
Acute kidney injury
อาจก่อให้เกิดการแพ้
Crystalloids
นิยมให้มากที่สุด ราคาถูก
Ringer's acetate solution ระวัง!! ให้เยอะอาจเกิด Hyperkalemia ได้
Vasoactive drug
Positive chronotropic effect กระตุ้นอัตราการเต้นของหัวใจ
Vasopressor effect เพิ่มความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย
Positive inotropic effect กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
การเลือกใช้ Vasoactive drugs
Obstructive shock: เลือกให้ Dopamine Dobutamine หรือ Norepinephrine ตามลำดับ
Septic shock: ให้ NSS ก่อน ตามด้วยยากระตุ้น และยาฆ่าเชื้อ
Cardiogenic shock: No NSS ระวังน้ำท่วมปอด เลือกให้ Dopamine Dobutamine หรือ Norepinephrine
Endocrinologic shock: Adrenal crisis และ Thyroid storm
Hypovolemic shock: NSS + ยากระตุ้นหัวใจ No Vasoactive drug
Anaphylactic shock: Epinephrine (Adrenaline) เท่านั้น
Neurogenic shock: เลือก Dopamine ก่อน
ข้อวินิจฉัย
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed (ทำให้เนื้อเยื่อตาย)
เนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลง