Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวปุณยาพร เงาฉาย รุ่นที่36/1 …
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
MAS
อาการ
แบ่งเป็น3ระดับ
รุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง24-72ชั่วโมง ทำให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ อาการมักหายไปใน 24-72ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
หายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24ชั่วโมง
รุนแรงมาก
มีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การพยาบาล
เป้าหมาย
ให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่่ำจาก PPHN
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด สังเกตอาการติดเชื้อ และดูแลตามอาการ
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการ
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา
อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ
ตัวอ่อนปวกเปียก
อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด รวมทัังการสร้างกลูโคส (glucogenesis) เองที่ตับก็ท้าได้น้อย
มีภาวะเครียดทั งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง
ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมื้อแรก
ถ้าน้อยกว่า 25 มก/ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
25-40 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
อายุ 4-24 ชั่วโมง
ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม
ถ้าน้อยกว่า 35 มก/ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
35-45 มก/ดล. ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
การดูแล
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติ รีบให้5,10 %D/W ทางปาก หรือ NG tube ใน 1-2 มื้อแรก แล้วให้นม
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที ในรายไม่แสดงอาการ ให้กินนมหรือสารละลายกลูโคส ถ้ากินไม่ได้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทางโภชนาการ
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่า และ ความไม่สมบูรณ์ในการทำงานของตับจึงทำให้กระบวนการในการขับบิริลูบินออกยังท าได้ช้า พบในช่วงวันที่ 2 – 4 หลังคลอด หายไปเองใน 1 – 2 สัปดาห์
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติ และเหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด เกิดได้จากหลายสาเหตุ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้เพิ่มขึ้น
ตับกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
อันตรายจากการมีบิลิรูบินสูง
ทำให้เกิด kernicterus เข้าสู่เซลล์สมอง และทำให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาท ทำให้ทารกมีความพิการของสมองเกิดขึ้นอย่างถาวร
สาเหตุ
1.มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้นจากภาวะต่างๆ
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงจากท่อนำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง ได้แก่ การติดเชื้อ
5.มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น จากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การวินิจฉัย
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่ มารดามีโรคประจำตัวการได้รับยาการติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่ ประวัติการคลอดของทารก คะแนน apgar การได้รับบาดเจ็บในระยะคลอด
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหหรือไม่ มีจุดเลือดออก บริเวณใดหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
Increases metabolic rate
Increased water loss / dehydration
Diarrhea
Retinal damage
Bronze baby หรือ tanning
Disturb of mother-infant interaction
Thermodynamic unstable
non-specific erythrematous rash
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา เช็ดทำความสะอาดตา และตรวจตาของทารกทุกวัน ควรเปิดตาทุก 4 ชม.และเปลี่ยนผ้าปิดตาทุก 8-12 ชม.ระหว่างให้นมควรเปิดผ้าปิดตา เพื่อให้ทารกได้สบตากับมารดา เป็นการกระตุ้นความรักผูกพันกันระหว่างมารดากับทารก
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่ำและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4ชั่วโมง เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ ในระยะห่างจากหลอดไฟ ประมาณ35-50 เซนติเมตร
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง
สังเกตลักษณะอุจจาระ ระหว่างการส่องไฟทารกอาจถ่ายอุจจาระบ่อยขึ้นอาจจะมีอาการถ่ายเหลวสีเขียวปนเหลืองจาก
บิลิรูบินและนำดี ให้บันทึกลักษณะและจำนวนอุจจาระอย่างละเอียดเพื่อประเมินภาวะสูญเสียน้ำ และดูแลอย่างเหมาะสม
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชั่วโมง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโรคอย่างต่อเนื่องและได้ผลชัดเจน จนกว่าบิลิรูบินจะลดลงเป็นปกติ
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา ได้แก่ ภาวะขาดน้ำถ่ายเหลว ดูดนมไม่ดี มีผื่นที่ผิวหนัง หรือภาวะแทรกซ้อนที่ตา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาล
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
นางสาวปุณยาพร เงาฉาย รุ่นที่36/1
รหัสนักศึกษา612001076