Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Part 3 - Coggle Diagram
Part 3
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
สาเหตุ
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
การอักเสบของช่องคลอดหรือปากมดลูก
ปากมดลูกปิดไม่สนิด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ครรภ์แฝด
ทารกอยู่ในท่าหรือส่วนนำที่ผิดปกติ
การทำหัตถการต่างๆ เช่น การเจาะน้ำคร่ำ
ปัจจัยอื่นๆ เช่น ฐานะ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
การติดเชื้อในโพรงมดลูก
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
การคลอดก่อนกำหนด
การติดเชื้อในกระแสเลือด
ภาวะการทำงานของปอดล้มเหลว
ภาวะเลือดออกในสมอง
ภาวะแทรกซ้อนระยะยาว ได้แก่ โรคปอดเรื้อรัง ภาวะความผิดปกติของระบบประสาท ตาบอด และ พัฒนาการล่าช้า
การเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
ทารกมีความผิดปกติของหน้าตา แขนขาผิดรูป การเจริญเติบโตช้า
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการนำ คือ มีน้ำใสๆ ไหลออกทางช่องคลอด
ประวัติการเจ็บครรภ์ การมีไข้ ลักษณะสีน้ำคร่ำ
กลิ่นของน้ำคร่ำ การดิ้นของทารกในครรภ์
การตรวจร่างกาย
หลีกเลี่ยงการตรวจภายในโดยใช้นิ้ว
ใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอด (bivalve vaginal speculum)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การทดสอบด้วยการไอ (cough test)
ถ้ามีถุงน้ำแตกหรือรั่วจะเห็นน้ำไหลออกมาจากปากมดลูก
วิธีการทดสอบ pH
หากเป็นน้ำคร่ำกระดาษ nitrazineจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
วิธีการทดสอบ fern test
พบลักษณะคล้ายใบเฟิร์นแสดงว่าโอกาสมีน้ำเดินจริงสูง
จะเห็นได้เมื่อมีการแตกของถุงน้ำคร่ำที่อายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์
วิธีทดสอบ Nile blue
ให้ผลบวกได้เมื่อมีการแตกของถุงน้ำคร่ำที่อายุครรภ์มากกว่า 36 สัปดาห์
ผลบวกจะเห็นเซลล์ไขมันของทารกติดสีส้มแดง
การดูแลรักษา
เมื่อมีการเจ็บครรภ์คลอด
ให้ยาปฏิชีวนะใน
ระหว่างการคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ถ้ามีการติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำควรทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
ถ้าทารกในครรภ์ปกติและไม่มีภาวะติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
การนอนพักบนเตียง
การตรวจประเมินภาวะการติดเชื้อหรือภาวะเจ็บครรภ์
การตรวจติดตามภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ NST
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
จัดให้นอนพักผ่อนไม่ควรลุกเดินโดยไม่จำเป็น
งดการตรวจภายในช่องทางคลอด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินเสียงหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง
ใส่ผ้าอนามัยไว้เพื่อสังเกตปริมาณ สี และกลิ่นของน้ำคร่ำ
รักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์
ดูแลให้ได้รับยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ระยะคลอด
แนะนำให้ผู้คลอดทราบและเข้าใจภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงไม่ควรลุกนั่งหรือเดิน
ให้ได้รับอาหารตามแผนการรักษา
กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะทุก 2 - 4 ชั่วโมง
ให้ได้พักผ่อนและนอนหลับเท่าที่จะสามารถทำได้
ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด ลดตัวกระตุ้นความเจ็บปวด
แนะนำเกี่ยวกับการคลอด
ให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา อ
ระยะหลังคลอด
สังเกตลักษณะสีและกลิ่นของน้ำคาวปลา
วัดระดับความสูงของยอดมดลูกวันละ 1 ครั้ง
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน
ครรภ์เกินกำหนด
การตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์ 42 สัปดาห์ หรือ 294 วัน ขึ้นไป
สาเหตุ
ความผิดปกติของทารก เช่น anencephaly
. การตั้งครรภ์ครั้งแรก
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์เกิน 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร
เคยมีประวัติการตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
ทารกเพศชาย
การกำหนดวันแรกของการมีประจำเดือนที่ไม่ถูกต้อง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับประจำเดือน
การตรวจร่างกายหรือการตรวจครรภ์
การตรวจร่างกายหรือการตรวจครรภ์
ตรวจในช่วงอายุครรภ์ 13-24 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
เกิดการบาดเจ็บหรือฉีกขาดของหนทางคลอด
การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
การตกเลือดในระยะหลังคลอด
อัตราการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพิ่มสูงขึ้น
. มีความวิตกกังวลต่อการคลอดและความปลอดภัยของทารกในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
perinatal morbidity และ mortality
เสี่ยงต่อภาวะชักในทารกแรกเกิด
เสี่ยงต่อภาวะชักในทารกแรกเกิด
เกิดภาวะ oligohydramnios
ทารกตัวโตทำให้เสี่ยงต่อการคลอดติดไหล่ การบาดเจ็บขณะคลอด
การพยาบาล
การป้องกันภาวะครรภ์เกิดกำหนด
จดบันทึกวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัด
หากหญิงตั้งครรภ์มีถุงน้ำคร่ำแตก มีเลือดออก
ลูกดิ้นน้อยลงหรือเจ็บครรภ์ถี่ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
การชักนำให้การคลอดสิ้นสุดลง
อธิบายวิธีการชักนำการคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและ FHS ทุก
30-60 นาที
กรณีมีถุงน้ำคร่ำแตก ใส่ผ้ารองซับไว้ในช่วงรอคลอด
แนะนำให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้ายเพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงทารกได้ดีขึ้น
สนับสนุนการเบ่งคลอดที่ถูกวิธี