Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, ปิยะธิดา ขอนแก่น รุ่น36/1…
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
โรคลมชัก (Epilepsy)
แบ่ง 2ชนิด ตามอาการ
Partial seizure
ชักเฉพาะที่
Generalized seizure
ไม่มีความผิดปก
มีความผิดปกติ
สาเหตุ
รอยโรคที่เกิดในสมอง
ติดเชื้อทางสมอง
พันธุกรรม
ได้รับอันตรายจากการคลอด
การรักษา
รักษาด้วยอาหาร
Ketogenic diet
คือ การจัดอาหารส่วนที่มี
ไขมันสูง คาร์โบต่ำ โปรตีนต่ำ
ใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัย
ใช้ยาระงับการชักและป้องกันการเกิดซ้ำ
ชักจากการติดเชื้อ 2แบบ
Meningitis
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อรา
เชื้อแบคทีเรีย
พยาธิ
การรักษา
เฉพาะ
โดยให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาลดไข้
การป้องกัน
ควรฉีดวัคซีน
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะมาก ซึมลง ชัก
ระคายเคือง
Kernig's sign+
Brudzinski's sign+
คอแข็ง
มีไข้
Encephalitis สมองอักเสบ
อาการ
ไข้สูง,ปวดศรีษะ,ปวดต้นคอ,ซึมลง,ชัก,กระสับกระส่าย
การรักษา
ให้ออกซิเจน เจาะคอ
ให้ยาระงับชัก
รักษาสมดุลของปริมาณเข้า-ออกของร่างกาย
สาเหตุ
เชื้อไวรัส,แบคทีเรีย,รา,ปาราสิต,ยาต่อวัคซีน
โรคไข้สมองอักเสบ (Japanese encephalitis)
วินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส JE จากเลือด+ไขสันหลัง พบได้ยาก
การรักษา
ต้องรักษาเฉพาะในIntensive unit ให้ยาลดไข้ ลดบวม ระงับอาการชัก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะบ่อยๆ
อาการ
มีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ต่ออาการปวดศรีษะมากขึ้น บางรายมีชัก หายใจไม่สม่ำเสมอประมาณ7-9วัน
โรคสมองพิการ Cerebral Palsy
สาเหตุ
ระยะคลอด
คือ เป็นเหตุที่สมองพิการ 30% สมองขาดออกซิเจนได้รับอันตรายจากการคลอด
ระยะหลังคลอด
คือ พิการ 5% ได้รับกระทบกระเทือนที่ศรีษะ ตัวเหลืองแรกเกิด
ระยะก่อนคลอด
คือ มีเลือดออกช่องคลอดช่วงตั้งครรภ์เดือนที่6-9 มารดาขาดสารอาหาร มีภาวะปัญญาอ่อน ใช้ยาบางชนิดที่ส่งผลกับสมองเด็ก
อาการ
อ่อนปวกเปียก หายใจช้า พัฒนาการช้า การควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ มีภาวะปัญญาอ่อนแต่น้อย พูดไม่ชัดเจน
การรักษา
กายภาพบำบัดกล้ามเนื้อ
ให้early stimulation เพื่อให้สมองไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
แก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
แก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในการใช้ชีวิตประจำวัน
การพยาบาล
1.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย
2.เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย
3.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว
4.บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
Hydrocephalus
สาเหตุ
การสร้างหรือผลิตไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมอง ไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการ
ศรีษะโต
กระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศรีษะบางมองเห็นหลอดเลือดดำชัดกว่าปกติ
พัฒนาการช้าและเจริญเติบโตช้า
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
Spina bifida
วินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อพบ Alphafetoprotien
ตรวจร่างกายทารกผิดปกติ
การรักษา
ผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
Guillain Barre's syndrome
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันร่างกายทำงานผิดปกติ สร้างแอนติบอดีต่อMyelin sheath ส่วนที่เป็น spinal nerve roots ทำให้ไขสันหลังไม่สามารถติดต่อไปยังกล้ามเนื้อได้
อาการ
Sensation
มีเหน็บชา ปวดปปลายแขนขา ไหล่ อาจให้ยาแก้ปวด
motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ประสาทสมอง โดยเฉพาะใบหน้า คู่ที่7
ลุกลามประสาทอัตโนมัติ
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วยIntravenous Immunglobulin
Down's syndrome
อาการที่ผิดปกติโครโมโซมคู่ที่ 21 เป็นกลุ่มโรคทางพันธุกรรม
เสี่ยงกับมารดาอายุมากกว่า30ปี หรือ35ปีขึ้นไป
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หัวแบนกว้าง
คอสั้น
หูติดอยู่ที่ต่ำ
ปากอ้าและลิ้นมักยื่นออก รอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างมักมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ
เส้นลายนิ้วมือมักพบ distal triradius
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
การรักษา
กระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัยตั้งแต่อายุยังน้อย
รักษาโรคทางกายที่มีร่วมด้วย
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
ปิยะธิดา ขอนแก่น รุ่น36/1 เลขที่72 612001073