Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, นางสาวอรณา สุทธิเชษฐ์ รุ่น 36/2 เลขที่ 57…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
เด็กคลอดก่อนกำหนด
ปัญหาระบหัวใจและเลือด
PDA (Patent Ductus Ateriosus)
การรักษา
โดยใช้ยา Indomethacin ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
การวินิจฉัย
อุณหภูมิร่างกายแกนกลางของทารก < 36.5องศาเซลเซียส (วัดทางทวารหนัก)
อาการ
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคล้ำ หยุดหายใจ หายใจลำบาก ปลายมือ
ปลายเท้าเย็น
การพยาบาล
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
•จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
การพยาบาลเด็กที่อยู่ในตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อน 4 ทาง
ปรับอุณหภูมิในร่างกายทุก 4 ชั่วโมงและปรับให้เหมาะสมกับทารก
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
IVH ( intra ventricular Hemorrhage )
Hydrocephalus
ปัญหาพัฒนาการล่าช้า
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome ( RDS )
อากาาร
ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบมีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการเขียว (Cyanosis)
หายใจลำบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60 ครั้ง/ นาที มีปีกจมูกบาน หายใจมี
การดึงรั้งของกล้ามเนื้อทรวงอก (retraction) ,หายใจมีเสียง Grunting
อาจมีอันตรายจากการหายใจล้มเหลวได้ภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
การดูแล
suction เมื่อจ้าเป็น
ระวัง การส้าลัก
สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อก
บุ๋ม (chest wall retraction) , ABG
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
ปัญหาการติดเชื้อ
Sepsis
-NEC (Necrotizing Enterocolitis)
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ เฝ้าระวังภาวะลำไส้ทะลุ
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
GER (Gastroesophageal Reflux)
Hypoglycemia
การพยาบาล
gavage feeding (OG tube) ในเดก
ระวังภาวะ NEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน ้าหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15-30กรัม)
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
เด็กที่คลอดครบกำหนด
Meconium aspiration syndrome ( MAS ) การสูดสำลักขี้เทาในเด็กทารกแรกเกิด
อาการ
มีกำลังเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
ลักษณะความรุนแรง
รุนแรงปานกลาง
หายใจเร็วรุนแรงมาก มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง รุนแรงสูงสุดเมื่อ 24 ชั่วโมง
รุนแรงมาก
ทารกจะระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
รุนแรงน้อย
ทารกหายใจเร็วระยะสั้นๆ 24-72 ชั่วโมง ทำให้เเรงดันลดลง มีความเป็นกรด-ด่าง มักหายไปใน 24-72 ชั่วโมง
การพยาบาล
รบกวนทารกน้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
วัดความดันโลหิตทุก 2-4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำมาก PPHN
ดูแลตามอาการ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการของการขาดออกซิเจน ได้แก่ หายจเร็ว อกบุ๋ฒ ปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น เขียว
การดูแลที่จำเป็น
ช่วยดูแลทางเดินหายใจและรักษาระบบทางเดินหายใจ
ดูแลเรื่องน้ำหนักตัวเด็กแรกเกิด
ควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
ประเมินการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ตัวเหลือง
ดูแลโภชนาการ
ติดตามภาวะผิดกติที่อาจเกิดขึ้น
ลักษณะของการเกิดน้ำคร่ำ
ลักษณะปกติเกิดจาก การเคลื่อนตัวของลำไส้ที่พัฒนาสมบูรณ์ของทารกเช่น ทารกในครรภ์ที่มีอายุครรภ์เกินกำหนดทำให้เกิดการถ่ายขี้เทาออกมาปนในน้ำคร่ำ
ลักษณธผิดปกติคือ รกและทารกในครรภตอบสนองต่อความเครียดที่เกิดจากภาวะรกทำงานผิดปกติ ภาวะน้ำคร่ำน้อย หรือ โรคในมารดาที่เกิดจากการตั้งครรภ์ เช่น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ มารดาสูบบุหรี่เรื้อรังหรือใช้สารเสพติด ทารกคลอดท่าผิดปกติ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด ( Hyperbilirubinemia )
พยาธิ
เกิดจากบิลลิรูบินในเลือดสูงกว่าปกติถ้าระดับบิลิรูบินสูงอาจทำให้เกิดภาวะ kernicterrus
อันตรายจากการมีบิลิรูบินสูง
ทำให้เกิด kernicterus เข้าสู่เซลล์สมอง และทำให้สมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาท ทำให้ทารกมีความพิการของสมองเกิดขึ้นอย่างถาวร
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
Diarrhea
ทารกอาจถ่ายเหลวจากการที่แสงที่ใช้ในการรักษา ทำให้มีการบาดเจ็บของเยื่อบุลำไส้ ทำให้มีการ
ขาด enzyme lactase เป็นการชั่วคราว
Retinal damage
ถ้าไม่ได้ปิดตาทารกให้มิดชิด อาจมีการบาดเจ็บเนื่องจากถูกแสงส่องนานทำให้ตาบอดได้
Increased water loss / dehydration
ทารกมีภาวะเสียน้ำมากจากการระเหยของน้ำ เพราะ อุณหภูมิ
รอบตัวของทารกสูงขึน
Disturb of mother-infant interaction
มารดาอาจมีโอกาสได้อุ้มและสัมผัสทารกน้อยลง ควรให้มารดาป้อนนมเพื่อให้มารดาได้ใช้โอกาสนั้นสัมผัสและใกล้ชิดทารก
Increases metabolic rate
ทารกอาจมีน้ำหนักตัวลดลง
Thermodynamic unstable
ทารกอาจมีอุณหภูมิร่างกายสูงหรือต่ำกว่าปกติ ประเมินสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอทุก 4 ชั่วโมง
non-specific erythrematous rash
อาจมีผื่นขึ้นตามตัวเป็นการชั่วคราว
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาล
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม. ถ้าพบว่าอุณหภูมิกายของทารกต่ำมาก ปลายมือปลายเท้าเย็น ใช้เครื่องทำความอุ่น(Radiant warmer) หรืออยู่ในตู้อบ เพื่อช่วยให้อุ่นขึ้น
สังเกตลักษณะอุจจาระ ระหว่างการส่องไฟทารกอาจถ่ายอุจจาระบ่อยขึ้นอาจจะมีอาการถ่ายเหลวเขียวปนเหลืองจากบิลิรูบินและน้ำดี ให้บันทึกลักษณะและจำนวนอุจจาระอย่างละเอียดเพื่อประเมินสีภาวะสูญเสียน้ำ และดูแลอย่างเหมาะสม
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ ในระยะห่างจากหลอดไฟ ประมาณ
35-50 เซนติเมตร
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม. เพื่อติดตาม
ความก้าวหน้าของโรคอย่างต่อเนื่องและได้ผลชัดเจน จนกว่าบิลิรูบินจะลดลงเป็นปกติ
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่ำและเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4
ชม.เพื่อให้ผิวทุกส่วนได้สัมผัสแสง
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา ได้แก่ ภาวะขาดน้ำ ถ่ายเหลว ดูดนมไม่ดี มีผื่น
ที่ผิวหนัง หรือภาวะแทรกซ้อนที่ตา
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา
น้ำตาลในเลือดต่ำ ( Hypoglycemia )
สาเหตุ
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
อาการ
ซึมไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก
อุณหภูมิกายต่่ำ ชักกระตุก
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทาง
หลอดเลือด*
กรณีทารกไม่มีอาการ
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม ถ้าระดับน้ำตาลน้อย
กว่า 35 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นม
มื้อแรกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
การพยาบาล
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดต ่า ตรวจติดตามทุก 30 นาที ในรายไม่แสดงอาการ ให้กินนมหรือสารละลายกลูโคส ถ้ากินไมได้ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำจะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรกหรือจนระดับน้ำตาลจะปกติ รีบให้5,10 %D/W ทางปาก หรือ NG tube ใน 1-2 มื้อแรก แล้วให้นม
ควบคุมอุณหภูมิห้องและให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
นางสาวอรณา สุทธิเชษฐ์ รุ่น 36/2 เลขที่ 57 รหัสนักศึกษา 612001138