Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ - Coggle Diagram
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
สาธารณสุข (Health)
สาธารณสุขศาสตร์ ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวกับการดูแลและการจัดการสุขภาพทั้งปวงชนของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร
สภาพของการมีชีวิตทางกสยภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
เศราฐศาสตร์สาธารณสุข (Health economics)
แนวคิด คือ สังคมศาสตร์ด้านเศรษฐ์ รวมกับ วิทยาศาสตร์ด้านสาธารณสุข
ความขาดแคลน [scarcity]
การแก้ปัญหาความขาดแคลน
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรม [Equity]
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพ [Effciency]
คือ ตัดสินใจหาทางเลือก ใช้ทรัพยากรสุขภาพที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เกิดจาก
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด [Resources are scarce]
ความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัด [Need are infinite]
ระบบสุขภาพ
คือ ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
สุขภาพ
สภาพแวดล้อม
วัฒนธรรม / ศาสนา
ประชากร / การศึกษา
เศรษฐกิจ / การเมือง
ความมั่นคง
นโยบายสาธารณะ
การสื่อสาร / คมนาคม
กายภาพ / ชีวภาพ
เทคโนโลยี / องค์ความรู้
ระบบบริการสาธารณสุข
การแพทย์แผนไทย กับ พื้นบ้าน
บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู
การแพทย์ กับ สาธารณสุขกระแสหลัก
การแพทย์ทางเลือกอื่นๆ
ปัจเจกบุคคล
ความเชื่อ
จิตวิญญาณ
พฤติกรรม
วิถีชีวิต
กรรมพันธุ์
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียม = รัฐได้มีบทบาทในการระบบบริการสุขภาพมาก เพื่อให้ทุกคนได้รับอย่างครอบคลุม ภายใต้เงื่อนไขเศรษฐกิจประเทศ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ = รัฐเข้ามาแทรกแซง กลไกการตลาดในหลายๆทาง เช่น ด้านค่าใช้จ่าย การฉีดวัคซีนป้องกันโรค รัฐมีส่วนรับผิดชอบเรื่องสุขภาพทุกคน
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม = รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิง ไม่ให้มีกลไกการตลาดใดๆ ทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม = จัดการแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรี รัฐมีส่วนน้อย เอกชนเป็นใหญ่ ต้องดูแลตัวเอง เช่น การรักษากฏหมาย การจัดหาสาธารณูปโภคแก่ประชาชน รัฐรักษาระดับมาตรฐานขั้นต่ำของประชาชน
การเข้าถึงบริการ [Accessibility]
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ [Accommodation] = แหล่งบริการ กับ การยอมรับผู้ใช้บริการว่าสะดวก
ความสามารถในการจ่าย [Affordability] = ค่าใช้จ่ายของบริการ กับ รายได้ผู้รับบริการ
การเข้าถึงแหล่งบริการ [Accessibility] = สถานที่ตั้งของแหล่งบริการ กับ ความสามารถที่ผู้บริการไปถึงแหล่ง
การยอมรับคุณภาพ [Acceptability] = ทัศนคติของผู้รับบริการผู้ใช้บริการ
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ [Availability] = บริการที่มีอยู่ กับ ชนิดของผู้ใช้บริการ
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
1.ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ เช่น กสารว่างงาน ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ เช่น ด้านควบคุมโรค โรคระบาด สูญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
มีจุดหมายหลักไม่ใช่แสวงหากำไรสูงสุด แต่เพื่อการกระจายบริการให้ทั่วถึงและเพื่อยกระดับสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ได้ผลสูงสุด
นโยบายการคลัง สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพและจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายหลัก
กระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด ครอบคลุมการให้บริการในที่ต่างๆทั่วถึง
ยกระดับสุขภาพอนามัยประชาชน
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ
ความจำเป็น ---> อุปสงค์ <-----> การใช้บริการ <--- อุปทาน
ความจำเป็น
ลักษณะทางประชากร = จำนวน อายุ เพศ
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม = รายได้ การศึกษา อาชีพ ที่อยู่
ลักษณะด้านสุขภาพ = การเจ็บป่วย การตาย ความรุนแรงของโรค
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
มีทักษะด้านบริหารจัดการต้นทุน
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งอุปสงค์และอุปทานสุขภาพ 1.กำหนดอัตราค่าบริการ
2.กำหนดการผลิตบริการสุขภาพ
ช่วยในการจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ อุปทานบริการทางการแพทย์
เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคด้านสาะารณสุข ในการตัดสินใจในการเลือกรับการรักษา ยา ผลิตภัณฑ์
ใช้ช้อมุลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อดูแลสุขภาพ
1.การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น
2.การวิเคราะห์การตัดสินใจ
เข้าใจแผนงงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ การจัดสรรและการกระจาย
การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
การกระจายทรัพยากรและเทคโนโลยี
ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
ต้นทุนการบริการสาธารณสุข
ประสิทะิภาพการรักาาพยาบาล
ความเป็นธรรมและความเท่าเทียมด้านสุขภาพ
การวิเคราะห์และประเมินการบริการสาธารณสุข
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
ระดับมหาภาค = เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพโดยรวม
ระดับจุลภาค = เกี่ยวกับระบบย่อย พฤติกรรมผู้ให้บริการ ผู้รับ และ ตลาดสุขภาพ
ผู้วางแผน / ผู้กำหนดนโยบาย = กำหนดโครงการ การจัดสรรทรัพยากร
ผู้ให้บริการ = วินิจฉัยดรค ส่งเสริมสุขภาพ บำบัดรักษา ควบคุม ป้องกัน ฟื้นฟูสุขภาพ