Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost) -…
บทที่6
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
“สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น”
คำถามที่ต้องการคำตอบ
EFFICACY ดีจริงหรือไม่
EFFECTIVENESS ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
EFFICIENCY คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
EQUITY เป็นธรรมหรือไม่
Keys to adding value
Valu
Benefit
Cost
Save time
Make money
Improve outcomes
Why consider health economics?
หากรัฐบาลใช้จ่ายกับบางอย่างมากต้องลดบางอย่าง
เรามีวิธีในการใช้จ่ายที่ดีด้วยวิธีอื่น
"ต้นทุนค่าเสียโอกาส" คือ คุณค่าของการใช้ทรัพยากรทางเลือกที่ดีที่สุด
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
(Outcomes in economic evaluation)
• การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง ต้นทุน (costs) และ ผลลัพธ์ (benefits)
• การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
• อะไรถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีของการวัดผลทางสุขภาพ
Health status evaluation
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อน และยุ่งยากมากกว่า
โครงการต่างๆและบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายเเละวิธีการ
ประกอบด้วย
Antenatal Care >> Infant morality rate
Joint pain >> Movement
AIDS >> CD4 > 500
Health outcomes
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพสามารถวัดได้หลากหลาย
เน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
เช่น Blood pressure, Glucose level, White blood cell
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ เป้นอีกทางเลือกหนึ่ง โดยวิธีการหาอัตรา "Rate" ให้น้ำหนัก "Weight"
ผลลัพธ์สุขภาพถูกระบุโดยการให้ค่าความพึงพอใจ Preferences
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
• ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทนหรือผลลัพธ์ระยะกลาง (Surrogate outcomes or Intermediate outcomes)
• ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
• ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
• ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes) ผลลัพธ์ทางสุขภาพขั้นสุดท้าย
• ความรู้สึก (Feeling)
• การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
• การรอดชีวิต (Survival)
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
• ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
• ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
• ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
• มุมมองต้นทุน
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
• ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน (คน อุปกรณ์ วิธีการ)
• ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน (งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
ต้นทุน>>ในมุมมองของใคร?
•
ผู้จ่ายเงิน
(Payer or Purchaser perspective) ค่าใช้จ่ายที่ขอเบิกจ่ายจากผู้จ่าย
•
ผู้ให้บริการ
(Hospital or provider perspective) ต้นทุนที่แท้จริงในการให้บริการ
•
ผู้ป่วย
(Patient perspective) จำนวนเงินที่ผู้ป่วยต้องจ่ายเพื่อรับบริการ และต้นทุนอื่นๆที่เกิดขึ้น
•
มุมมองด้านสังคม
(Societal perspective) ต้นทุนโดยรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆในสังคม
ประเภทต้นทุน
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs)
vs.
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs)
vs.
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs)
vs.
ต้นทุนดำเนินการ (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs)
vs.
ต้นทุนทำงอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนเเยกตามพฤติกรรม
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
เงินเดือน
ค่ารับจ้างเหมาจ่ายรายเดือน
ค่าเช่าอุปกรณ์
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ค่ายา
ค่าน้ำยาห้องปฏิบัติการ
ค่าไฟฟ้า น้ำประปา
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost)
Cost / Output
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีดั้งเดิม มีความเรียบง่าย ความเที่ยงตรงและตรวจสอบได้ง่าย
ขั้นตอนในการศึกษา
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
(Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
หาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด (Full Cost Determination)
Activity Approach
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity-Based Costing หรือ ABC)
จุดมุ่งหมายให้ผู้บริหารหันมาให้ความสนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนในการศึกษา
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม (Determine activity analysis unit)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม (Activity unit Cost)
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม (Full Activity Cost Determination)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน (Direct Cost Determination)
การคำนวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ค่าแรง
: ค่าแรงที่ควบคุมได้ , ค่าแรงที่ควบคุมไม่ได้
ค่าวัสดุ
: ค่าวัสดุสิ้นเปลือง , ค่าเวชภัณฑ์
ค่าสาธารณูปโภค , ค่าใช้สอย , ค่าซ่อมแซม
ค่าครุภัณฑ์
: ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์ , ค่าเสื่อมราคาสิ่งก่อสร้าง
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
• แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุนแตกต่างกัน
• วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
• การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
• การการกระจายต้นทุนต่างกัน
• การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพจากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้คำนวณอัตราคืนทุน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่า กิจกรรมใด ควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร