Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดจากการละเมิด
กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
กระทำต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมายด้วยการฝ่าฝืนข้อห้าม
งดเว้นสิ่งที่ตนมีหน้าที่ตามกฎหมายต้องทำ
ใช้สิทธิที่ทำให้ผู้อื่นเสียหาย
ละเมิดสิทธิผู้อื่นที่ไม่ยินยอมต่อการกระทำนั้น
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
กระทำโดยตั้งใจหรือผิดกฎหมาย
ไม่มีสิทธิหรือใช้สิทธิเกินขอบเขต
ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลของงการกระทำนั้น
การกระทำโดยประมาทเลินเล่อ
กระทำโดยไม่ได้จงใจแต่ทำโดยปราศจากความระมัดระวัง
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
ทำให้บุคคลอื่นขาดประโยชน์ที่เคยได้รับ
ความเสียหายต่อชีวิต ผ่าตัดผิดพลาด
เสียหายแก่ร่างกาย ทำให้บุคคลอื่นบาดเจ็บ
ความเสียหายแกอนามัย สุขสบาย ความรู้สึก
ความเสียหายแก่เสรีภาพ ถูกกักขัง
ควาามเสียหายแก่ทรัพย์สิน สิทธิต่างๆ
บุคคลต้องรับผิดชอบ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ตัวการรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวเอง
บิดามารดารับผิดชอบผลแห่งการละเมิดที่ผู้เยาว์กระทำ
ครูบาอาจารย์ นายจ้างรับผิดชอบผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๕ สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกสิ้นสุดลงเมื่อตาย
มาตรา ๑๙ พ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อ 20 ปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๐ บรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส
มาตรา ๒๑ ผู้เยาว์ทำนิติกรรมใดๆต้องได้รับความยินยอมผู้แทน
มาตรา ๒๒ ผู้เยาว์อาจทำการใดๆได้ทั้งสิ้นเพื่อสิทธิอันใดอันหนึ่ง
มาตรา ๒๓ ทำการใดๆได้ทั้งสิ้น เป็นการต้องทำเฉพาะตัว
มาตรา ๒๕ ทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุ ๑๕ ปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๖ ผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตจำหน่ายทรัพย์สิน
มาตรา ๒๗ ประกอบธุรกิจทางการค้า
มาตรา ๒๘ บุคคลวิกลจริต
มาตรา ๒๙ บุคคลวิกลจริตกระทำผิด เป็นโมฆะ
มาตรา ๓๑ เพิกถอนคำสั่งบุคคลไร้ความสามารถ
มาตรา ๓๓ ไม่วิกลจริตแต่มีจิตฟั่นเฟือน=บุคคลเสมือนไร้ความสามารถ
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมาย
การกระทำผิดใดเป็นความผิด กำหนดโทษอาญาแก่ผู้ฝ่าฝืน
ควบคุมพฤติกรรมให้อยู่ในสังคม
รักษาโครงสร้างสังคม
คุ้มครองความปลอดภัย
ประเภทความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ รู้สึกตัวและรุ้ว่าตนเองกำลังทำอะไร
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท ไม่เจตนา
โดยเจตนา รู้สำนึกแต่ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลของการกระทำ
ประมาท กระทำโดยไม่ระมัดระวัง
ไม่เจตนา ไม่ได้คาดคิดจะเกิด
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
เหตุยกเว้นโทษ
กระทำด้วยความจำเป็น
กระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
กระทำตามคำสั่งเจ้าพนักงาน
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ สามีภริยา
เหตุลดหย่อนโทษ
กระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
กระทำโดยบันดาลโทสะ
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก รอลงโทษหรือรอลงอาญา
ความผิดมีโทษจำคุก
ลงโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี
ไม่เคยได้รับการลงโทษมาก่อน ความผิดกระทำโดยประมาท
โทษกักขัง
เปลี่ยนจากอื่นเป็นกักขัง
โทษปรับ
ชำระเงินต่อศาลตามจำนวนที่ศาลกำหนด
โทษริบทรัพย์
ได้โดยการกระทำผิด ขายยา
กฎหมายบัญญัติ
ยาบ้า ยาเสพติด ธนบัตรปลอม ปืนปลอม
ลหุโทษ ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท