Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ Health system and Health Economics -…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
Health system and Health Economics
สาธารณสุข (Health)
สาธารณสุขศาสตร์ เป็นศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพ
ทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
(Health economics)
เกิดความขาดแคลน
‘Scarcity’
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด
Resources are scarce
ความต้องการของมนุษย์ไม่จ ากัด
Wants (needs) are ‘infinite’
การแก้ปัญหาการขาดแคลน การตัดสินใจหาทางเลือกใช้ทรัพยากรสุขภาพที่มีอยู่อย่างจ ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดบริการสุขภาพ
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรมในการจัดบริการสุขภาพ (Equity)
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ (Efficiency)
ระบบสุขภาพ (Health care system)
ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคล สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา กฎหมาย ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น รวมทั้งปัจจัยด้านระบบ
ระบบบริการสุขภาพ ( Type of health care system)
สุขภาพแบ่งเป็น 4 ประเภท
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิงและไม่อนุญาตให้มีกลไกการตลาดใดๆ ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
• ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการสุขภาพมาก เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุม ภายใต้เงื่อนไขเศรษฐกิจของประเทศ ประชาชนสามารถรับบริการโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง
• ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ เป็นระบบบริการสาธารณสุข ที่รัฐได้เข้ามาแทรกแซง กลไกการตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลายๆ ทาง เช่น ด้านค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล หรือบริการอื่นเช่น การฉีดวัคซีนป้องกันโรค การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม รัฐมีส่วนรับผิดชอบเรื่องสุขภาพของประชาชน
• ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม มีการจัดบริการสุขภาพในรูปแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรี รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกการตลาดน้อย หน่วยบริการส่วนใหญ่เป็นเอกชน เป็นความรับผิดชอบของบุคคลที่จะดูแลตัวเอง
การเข้าถึงบริการ
(Accessibility)
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability) ความสัมพันธ์ระหว่างบริการที่มีอยู่ กับ ชนิดของผู้ใช้บริการ
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility) ความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่ตั้งของ
แหล่งบริการ กับ ความสามรถที่ผู้บริการจะไปถึงแหล่ง
ความสะดวกและสิ่งอ านวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)ความสัมพันธ์ของแหล่งบริการ กับ การยอมรับของผู้ใช้บริการว่าสะดวก
ความสามารถในการจ่าย (Affordability) ความสัมพันธ์ของค่าใช้จ่ายของบริการ
กับรายได้ของผู้รับบริการ
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability) ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของ
ผู้รับบริการ กับ ผู้ใช้บริการ
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
ลักษณะที่ 1 ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ เช่น การว่างงาน ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ลักษณะที่ 2 ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ เช่นด้านการควบคุมโรค
โรคระบาดและการสุญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
การผลิตสินค้าและบริการสุขภาพโดยภาครัฐ มีจุดหมายหลักไม่ใช่การแสวงหากำไรสูงสุด แต่เพื่อการกระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด และเพื่อยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ได้ผลสูงสุด
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ พิจารณาจาก Need
ความจำเป็น
(Need)
ลักษณะประชากร
-จำนวนประชากร
(Population No)
-กลุ่มอายุและเพศ (Age
and Sex group)
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม
-รายได้
-การศึกษา
-อาชีพ
-พื้นที่อยู่อาศัย
ลักษณะด้านสุขภาพ
-การเจ็บป่วย
-การตาย
-การรุนแรงของโรค
อุปสงค์
(Demand)
การใช้บริการ
(Utilisation)
อุปทาน
(Supply)
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
มีทักษะด้านการบริหารจัดการโดยเฉพาะการบริหารต้นทุนในสถานบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทานสุขภาพ
-กำหนดอัตรค่าบริการ
-การกำหนดบริการสุขภาพ
ช่วยในการจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ (อุปทานของบริการทางการแพทย์)
ทำให้เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุขในการตัดสินใจในการเลือกรับบริการรักษา บริโภคยา หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ
-วิเคราะห์ความน่าจะเป็น
-วิเคราะห์การตัดสินใจ
ให้เข้าใจแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ (การจัดสรรและการกระจาย)
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค (Macroeconomic study)เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study)เป็นการศึกษาสุขภาพระดับย่อย
-พฤติกรรมของผู้รับบริการ
-พฤติกรรมของผู้ให้บริการ
-พฤติกรรมของในตลาดสุขภาพ
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
ผู้วางแผน (Planner)
ผู้กำหนดนโยบาย (Policy maker)
การประยุกต์ใช้
การกำหนดโครงการ
การจัดสรรทรัพยากร
ผู้ให้บริการ(แพทย์ ทัตนแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข)
การประยุกต์ใช้
การวินิจฉัยโรค
การส่งเสริมสุขภาพ
การบำบัดรักษา
การควบคุมป้องกัน และการฟื้นฟูสภาพ
การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
(Type of health economics study)
ความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในด้านสุขภาพ
ต้นทุนการบริการสาธารณสุข
การกระจายทรัพยากรและการใช้เทคโนโลยี
ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร
ประสิทธิภาพของการรักษาพยาบาล
การวิเคราะห์และการประเมินการบริการสาธารณสุข